Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17896
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรและมูลค่าหลักทรัพย์: กรณีศึกษากลุ่มประเทศสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ
Other Titles: The Relationship Between Earnings Quality and Stock Price: A Case Study of Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle
Authors: รจนา ขุนแก้ว
จันจิรา ขยันการ
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาการบัญชี
Faculty of Management Sciences (Accountancy)
Keywords: Earnings Quality;Stock price;the accruals quality;บริษัทมหาชน;กำไรของบริษัท
Issue Date: 2022
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This study aims to examine the relationship between earnings quality and stock price of firm listed on the Stock Exchange of Indonesia, Malaysia and Thailand amount of 764 samples. which collecting data from the annual report since 2016 to 2020 consist of the earnings quality, stock price, firm size, leverage, firm age, audit and Industry type. The results show that the earnings quality of listed companies in the Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle is significantly different. Moreover, earnings quality consists of Earning Persistence, Earning Smoothness and Earning Predictability are related with the securities value at a significant level of 0.01, while, the accrual quality is not significant related. In addition, it was found that the size of the business and age of business There is a positive relationship with the stock price.
Abstract(Thai): การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรต่อมูลค่าหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย โดยเก็บข้อมูลจากรายงานประจำปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559-2563 จำนวน 764 ตัวอย่าง ประกอบด้วย คุณภาพกำไร มูลค่าหลักทรัพย์ ขนาดกิจการ ความเสี่ยงทางการเงิน อายุกิจการ ประเภทผู้สอบบัญชี และประเภทอุตสาหกรรม จากผลการศึกษาพบว่าคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มประเทศสามเหลี่ยมเศรษฐกิจมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ และคุณภาพกำไร อันประกอบด้วย เสถียรภาพกำไร ความคงที่ของกำไร และ ความสามารถในการพยากรณ์กำไรมีความสัมพันธ์กับมูลค่าหลักทรัพย์ที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.01 หากแต่คุณภาพรายการคงค้างไม่พบความสัมพันธ์ นอกเหนือจากนี้ยังพบว่าขนาดกิจการ และอายุของกิจการ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าหลักทรัพย์
Description: ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต (การบัญชี),2565
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17896
Appears in Collections:464 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521704.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons