Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ หนูแก้ว-
dc.contributor.advisorวีณา คันฉ้อง-
dc.contributor.authorอรพิศ มีคลัง-
dc.date.accessioned2023-03-03T07:30:44Z-
dc.date.available2023-03-03T07:30:44Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractการวจยกงทดลอง แบบสองกลมวดกอนและหลงทดลองน มวตถประสงคเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรีต่อความอยากเสพของวัยรุ่นชายที่เสพติดสารแอมเฟตามีน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เสพติดสารแอมเฟตามีนวัยรุ่นที่ได้รับการวินิจฉัยตามเกณฑ์การวินิจฉัย ICD-10 เพศชายอายุระหว่าง 18-21 ปี ที่เข้ารับการบ าบัดรักษาแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวชแห่งหนึ่งประจ าภาคใต้ จ านวน 60 คน แบ่งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ด้วยการจับคู่กลุ่มตัวอย่างด้านอายุกับคะแนน ความอยากเสพสารแอมเฟตามีน กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลตาม ทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรี และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย (1) โปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรี ซึ่งสรางขนจากแนวคดทฤษฎการบรรลเปาหมายของคง และรปแบบการบ าบัดดนตรีส าหรับผู้เสพติดสารแอมเฟตามีน ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวกับวยรนเสพตดสารแอมเฟตามน ดาเนนกจกรรมทงหมด 4 ครงๆละ 60-90 นาท สปดาหละ 1 ครง ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ (2) แบบสอบถามขอมลทวไป และ (3) แบบประเมินความรู้สึกอยากเสพ สารแอมเฟตามน เครองมอทง 3 สวน ผานการตรวจสอบความตรงตามเนอหาโดยผทรงคณวุฒิ จ านวน 3 ท่าน และหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินความรู้สึกอยากเสพสารแอมเฟตามีน ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาสถิติ Wilcoxon Signed-Ranks Test และ สถิติ Mann-Whitney Test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนมัธยฐานของความรู้สึกอยากเสพสารแอมเฟตามีนของวัยรุ่นที่เสพติดสารแอมเฟตามีน หลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุ เป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรี ต ่ากว่าหลังได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิต(z= -4.78, p=.00) และคะแนนมัธยฐานของความรู้สึกอยากเสพสารแอมเฟตามีนของวัยรุ่นเสพติด สารแอมเฟตามีนกลุ่มทดลอง หลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุเป้าหมาย ของคิงร่วมกับการใช้ดนตรี ต ่ากว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (z= -6.74, p=.000) ผลการวจยครงนแสดงใหเหนว่า โปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุ เป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรีของวัยรุ่นที่เสพติดสารแอมเฟตามีน สามารถลดความรู้สึก อยากเสพสารแอมเฟตามนได ดงนนพยาบาลควรนาโปรแกรมนไปใชในคลนกผปวยนอกของโรงพยาบาลen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความอยาก เสพสารแอมเฟตามีนen_US
dc.subjectโปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิง การใช้ดนตรีen_US
dc.subjectการติดยาเสพติด การรักษาen_US
dc.subjectแอมฟิตะมินen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการพยาบาลตามทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิงร่วมกับการใช้ดนตรีต่อความอยากเสพของวัยรุ่นชายที่เสพติดสารแอมเฟตามีนen_US
dc.title.alternativeThe Effect of Nursing Care According to King’s Theory of Goal Attainment with Music Program on Amphetamine Craving Among Male Adolescents With Amphetamine Addictionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Psychiatric Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช-
dc.description.abstract-thThis quasi-experimental, two-group pretest-posttest research aimed to examine the effect of nursing care according to King’s theory of goal attainment with music program on amphetamine craving among male adolescents with amphetamine addiction. Participants comprised 60 male adolescents, diagnosed by ICD 10, aged 18-21 years, and undergoing treatment as outpatients in a psychiatric hospital, southern Thailand. The participants were assigned into matched pairs based on age and amphetamine craving score of adolescent amphetamine addicts, and allocated to one or other of 2 groups, 30 participants each group. The experimental group participated in the nursing care according to King’s theory of goal attainment with music program, and the control group received routine care. Research instruments consisted of: (1) the nursing care according to King’s theory of goal attainment with music program, based on conceptual framework of King's theory and music related to decreased amphetamine addict as well as a literature review related to amphetamine cravings for adolescents; (2) a demographic data questionnaire; and (3) an amphetamine craving questionnaire. Content validity of 3 parts was verified by 3 experts. Reliability of the amphetamine craving questionnaire was analyzed using Cronbach’s Alpha coefficient, yielding a value of .89. Data were analyzed using descriptive statistics, Wilcoxon Signed-Rank Test, and Mann-Whitney Test The result showed that the median score of amphetamine craving among adolescents with amphetamine addiction after participating in the program was significantly lower than that before participating in the program (z= -4.78, p=.00). In addition, the median score of amphetamine cravings among adolescents after participating in the program was significantly lower than that of participant to receiving usual care (z= -6.74, p=.000). The results of nursing care according to King’s theory of goal attainment with music program could decrease amphetamine craving among adolescents with amphetamine addiction. Therefore, nurses should implement the nursing care according to King’s theory of goal attainment with music program among outpatient adolescents with amphetamine addiction in psychiatric hospitals.en_US
Appears in Collections:647 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6110420050.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons