Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17888
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี คมจักรพันธุ์-
dc.contributor.authorศรีวิกาญจน์ ยกเส้ง-
dc.date.accessioned2023-03-03T07:04:27Z-
dc.date.available2023-03-03T07:04:27Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17888-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบ้ติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThis Experimental research aimed to determine the effects of the Self-Care Promoting Program using Stretched Rubber Band Exercise on the physical fitness of homebound older adults. Subjects are 60 homebound older adults residents of Maelan District, Pattani Province. First, two villages were assigned into the experimental or control groups using the simple random sampling method. Then thirty subjects who met the eligible criteria were purposively selected from each group. Both groups received a usual nursing care; nevertheless, the experimental group received the self-care promoting program using a stretched rubber band for eight weeks. Research instruments consisted of 1) self-care promoting program using a stretched rubber band, and a handbook for the home exercise program, 2) a questionnaire including general information, a physical fitness evaluation, and an exercise recoding. The three experts scrutinized the content validity of all the Instruments. The physical fitness evaluation form was tested for reliability using a test-retest method, which yielded a correlation coefficient of 0.9. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test, and Wilcoxon signed rank test. The results found of this study showed that the mean scores of muscle strength, muscle flexibility, and cardiovascular endurance of the experimental group were significantly higher than those of the control group (p < .05). These findings indicated that the self-care promoting program using a stretched rubber band improved a physical fitness and should be implemented in homebound older adults. This research could promote health care more effectively. It will be used as a reference source for health care providers or caregivers to apply the self-care promoting program using a stretched rubber band for Thai older adults in the future. This exercise increases physical performance in the elderly.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านen_US
dc.subjectการออกกำลังกายด้วยยางยืดen_US
dc.subjectสมรรถภาพทางกายen_US
dc.subjectการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ การดูแลที่บ้านen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยยางยืด ต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านen_US
dc.title.alternativeEffects of the Self-Care Promoting Program Using Stretched Rubber Band Exercise on the Physical Fitness of Homebound Older Adultsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Public Health Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยเชิงทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยยางยืดต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านที่อาศัยอยู่ในอำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จำนวน 60 ราย ทำการสุ่มอย่างง่ายเลือกพื้นที่ 2 ตำบลเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง คัดเลือกผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์เข้ากลุ่ม ๆ ละ 30 ราย ทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามปกติ โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยยางยืด ที่พัฒนาขึ้นโดยใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของโอเร็มร่วมกับหลักฟิตในการออกกำลังกายด้วยยางยืด เพื่อเพิ่มสมรรถภาพทางกาย เป็นระยะ เวลา 8 สัปดาห์ ประเมินผลสมรรถภาพทางกาย ด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความยืดหยุ่นและความทนทานของปอดและหัวใจ เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) เครื่องมือในการทดลอง คือ โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยยางยืดและคู่มือการออกกำลังกาย 2) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสมรรถภาพทางกาย แบบบันทึกการออกกำลังกาย เครื่องมือทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน แบบประเมินสมรรถภาพทางกายได้ทดสอบความเที่ยงโดยวิธีวัดซ้ำ ในผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน 10 ราย ได้ค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.9 ข้อมูลทั่วไปวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติที ผลการศึกษาหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และความทนทานของปอดและหัวใจสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายด้วยยางยืดมีผลในการเพิ่มสมรรถภาพทางกาย ซึ่งสมควรนำไปใช้ในผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านได้ และมาใช้เป็นแนวทางให้แก่เจ้าหน้าที่ หรือผู้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองด้านการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง และส่งผลให้สมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้นen_US
Appears in Collections:610 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5910421013.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons