Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17878
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทกานต์ ทวีกุล | - |
dc.contributor.author | ภีม พงศ์สุพัฒน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-28T08:21:10Z | - |
dc.date.available | 2023-02-28T08:21:10Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17878 | - |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีพลังงาน), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to present a warm air infiltration simulation for a cold room, considering the effects of an air curtain. At present, there exist a large number of retail businesses, operating within an industry entailing high investment and competition. Therefore, retail operators must distinguish factors that are essential to lowering their costs, one of which is energy reduction. A survey of energy consumption in stores found that most used energy is due to the cooling system. Therefore, we tested the protection of cold rooms against air inflow by conducting three simulations: 1. Without an air curtain; 2. using anair curtainhaving a common grille; and 3. using anair curtainwith a honeycomb grille. The cold room temperature was set to 1 ๐C, the cold room door was 200 × 100 m2, and theair curtainwas installed 5 cm above the cold room door; furthermore, the velocity of air emitted from theair curtainwas 6.5 m/s. Warm air infiltration simulations were carried out using Solidworks flow simulation software, in order to determine the temperature change in the cold room and the airflow direction. From the result of the comparative experiments, when using the different wind grilles, there were differences in the infiltration of warm air. The honeycomb grille reduced air turbulence in the cold room more effectively than the common grille. As a result, the temperature in the cold room was consistent, and the temperature inside the cold room was maintained 10.62% lower when using a honeycomb grille compared to a common grille. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | CFD FCU ห้องเย็น ม่านอากาศ | en_US |
dc.subject | กริวทั่วไป กริวรังผึ้ง | en_US |
dc.subject | ห้องเย็น การใช้พลังงาน | en_US |
dc.subject | ห้องเย็น การระบายอากาศ | en_US |
dc.title | ศึกษาม่านอากาศของตู้เย็นแบบเปิดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานของห้องเย็น | en_US |
dc.title.alternative | A Study of The Open Refrigerator Air Curtain to Improve Cold Storage Energy Efficiency | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน | - |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering (Energy Technology) | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยฉบับนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับการจำลองการแทรกซึมของอากาศอุ่นของห้องเย็นจากการนำม่านอากาศประยุกต์ใช้กับห้องเย็น โดยการเปรียบเทียบกันระหว่างห้องเย็นที่ไม่ติดตั้งม่านอากาศ กับม่านอากาศที่ใช้กริวทั่วไปและม่านอากาศที่ใช้กริวรังผึ้ง ใช้ห้องเย็นที่มีอุณหภูมิ 1๐C ประตูห้องเย็นมีขนาด 200 x 100 m2 ติดตั้งม่านอากาศเหนือประตูห้องเย็น 5 cm ความเร็วลมที่ปล่อยออกจากช่องของม่านอากาศอยู่ที่ 6.5 m/s ทำการทดลองจริงเพื่อหา Air change โดยทำการวัดอุณหภูมิ,ความชื้นและความเร็วลมบริเวณด้านหน้าห้องเย็นห่างจากแนวลมของม่านอากาศ 30 cm เฉลี่ย 5 จุด บริเวณภายในห้องเย็นห่างจากแนวลมของม่านอากาศ 30 cm เฉลี่ย 5 จุด และได้ทำการวัดความเร็วลมสูงจากพื้น 50 cm ห่างจากแนวลมของม่านอากาศ 10 cm , 20 cm , 30 cm ตามลำดับทั้งด้านในและด้านนอกห้องเย็น พบว่ามีการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทของอากาศอยู่ที่ 0.015 kWh ส่วนแบบกริวรังผึ้งมีการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทของอากาศอยู่ที่ 0.007 kWh ซึ่งแบบกริวรังผึ้งสามารถป้องกันการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทของอากาศได้ดีกว่า 46.66% แบบกริวทั่วไปมีการกระจายลมออกทางด้านข้างอยู่ที่ 1.012 m/s ส่วนแบบกริวรังผึ้งมีการกระจายลมออกทางด้านข้างอยู่ที่ 0.525 m/s ซึ่งแบบกริวรังผึ้งมีการกระจายของลมน้อยกว่า 51.87% หลังจากทดลองด้วยการวัดจริงแล้วจึงได้ทำการจำลองการแทรกซึมของอากาศอุ่นด้วย Solidwork 2022 จำลองลักษณะการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิภายในห้องเย็นและทิศทางการไหลของอากาศ จากผลการทดลองเปรียบเทียบกริวลมพบว่ามีความแตกต่างของการแทรกซึมของอากาศอุ่น โดยกริวรังผึ้งจะช่วยลดปั่นป่วนของอากาศภายในห้องเย็นได้มากกว่าแบบกริวทั่วไปจึงทำให้อุณหภูมิภายในห้องเย็นมีความสม่ำเสมอมากกว่า และยังสามารถป้องกันรักษาอุณหภูมิภายในห้องเย็นได้ดีกว่า 10.62 % | en_US |
Appears in Collections: | 219 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310120078.pdf | 12.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License