Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤติกา แก้วจำนง-
dc.contributor.advisorเสาวภา ด้วงปาน-
dc.contributor.authorพิมพกานต์ บุญยรัตน์-
dc.date.accessioned2023-02-28T08:06:02Z-
dc.date.available2023-02-28T08:06:02Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17876-
dc.descriptionวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)), 2564en_US
dc.description.abstractHigh global temperature is a serious concern nowadays. It widely causes multiple issues, especially adversely affects agricultural crops including rice, a staple and economically important crop of Thailand. However, information regarding effects of heat stress on rice is still scarce. This research, therefore, aimed to demonstrate the responses of rice to heat stress. Rice cultivar KDML 105 was selected for the study. For the experiment, 30-day old seedlings were treated with three different temperature schemes, i.e. 30/25°C (control), 35/30°C and 40/35°C for 5 days and recovered for 10 days under the control condition. The results showed that growth parameters including fresh weight, dry weight and root length of rice seedlings under 40/35°C treatment tended to be higher than those under the control and 35/30°C treatments but not significantly different. Photosynthetic rate, stomatal conductance and hydrogen peroxide significantly increased during the treated period, especially in 40/35°C treatment, then dropped dramatically during recovery time while proline noticeably increased at recovery time of 40/35°C treatment. The treatment of 35/30°C showed the same trend as control. On the other hand, leaf greenness, relative water content and peroxidase showed no significant difference among treatments.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความเครียดร้อนen_US
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105en_US
dc.titleผลของความร้อนต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยาและความเครียดออกซิเดชันในข้าว (Oryza sativa L.)en_US
dc.title.alternativeEffect of Heat Stress on Physiology and Oxidative Responses in Rice (Oryza sativa L.)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biology)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา-
dc.description.abstract-thการเพิ่มสูงขึ้นของอุณหภูมิโลกได้รับความสนใจอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นปรากฏการณ์ที่ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่งผลเสียต่อผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าวซึ่งเป็นอาหารหลักและพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ทั้งนี้การศึกษาผลของความเครียดร้อนต่อข้าวยังมีจำกัด งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตอบสนองของข้าวต่อความเครียดร้อนในข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยนำต้นกล้าอายุ 30 วันมาให้ความร้อนสามระดับได้แก่ 30/25°C (ชุดควบคุม), 35/30°C และ 40/35°C เป็นเวลา 5 วันแล้วจึงนำมาเข้าสู่ระยะฟื้นฟูในสภาวะควบคุมเป็นเวลา 10 วัน รวมทั้งสิ้น 15 วัน พบว่าข้าวที่ได้รับความร้อน 40/35°C มีแนวโน้มน้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง และความยาวของส่วนเหนือดินและรากที่มีการเจริญเติบโตมากกว่าชุดควบคุมและชุดที่ได้รับอุณหภูมิ 35/30°C แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ค่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ค่าชักนำการเปิดปากใบและปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในช่วงที่ได้รับความเครียดร้อนโดยเฉพาะที่อุณหภูมิ 40/35°C และลดลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเสร็จสิ้นการให้ความร้อนและเข้าสู่สภาวะการฟื้นฟู ในขณะที่ปริมาณ proline เพิ่มขึ้นชัดเจนในช่วงฟื้นฟูของข้าวที่ได้รับอุณหภูมิ 40/35°C ความร้อน 35/30°C ไม่ได้ทำให้ผลการทดลองแตกต่างกับชุดควบคุม อย่างไรก็ตามค่าความเขียวใบ ปริมาณน้ำสัมพัทธ์ และกิจกรรมของเอนไซม์ peroxidase ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างชุดการทดลองen_US
Appears in Collections:330 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6110220022.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons