Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17848
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Krajana Tainchum | - |
dc.contributor.advisor | Atirach Noosidum | - |
dc.contributor.author | Niyaporn Khwanket | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-24T08:14:54Z | - |
dc.date.available | 2023-02-24T08:14:54Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17848 | - |
dc.description | Master of Science (Entomology), 2021 | en_US |
dc.description.abstract | The stable fly (Stomoxys calcitrans) is an important insect pest of livestock because it causes annoyance and vector-borne diseases to livestock. Farmers deploy several methods to control stable flies. Entomopathogenic nematodes (EPNs) are used to control stable fly as they are soil-borne insect pathogens. In this study, eight substrates including 0–12 hours old fresh cow manure (FCM12), seven days old cow manure (CM7), seven days old cow bedding (CB7), manure (Man), seven days old fermented timothy hay (FT7), seven days old fermented cow manure (FCM7), seven days old cow manure and fermented timothy hay (CMFT7) and water-soaked cotton (WSC = control) were performed for the preference of larvae and gravid female of S. calcitrans. Stomoxys calcitrans larvae showed the highest preference for substrate CM7 with 26.70%. The highest preference of gravid female was FCM12 with 55.00%. The pathogenicity of six EPN isolates (Steinernema scarabaei EPNKU60, Heterorhabditis indica EPNKU64, H. indica EPNKU67, H. indica EPNKU82, H. bacteriophora, S. carpocapsae and S. siamkayai) at the rates of 0, 25, 50, 100, 200 and 400 Infective Juveniles /cm2 were tested against second, third instar larvae and pupae of S. calcitrans in filter paper bioassays. Heterorhabditis bacteriophora killed 100.00% of the second instar larvae at the rate of 200 IJs/cm2. Heterorhabditis bacteriophora and H. indica EPNKU82 showed 80.00% and 100.00% mortality of third instar larvae at the rate of 400 IJs/cm2 while mortality of insect larvae was less than 30.00% for other EPNs. Low efficacy of EPN infection on pupae of S. calcitrans was observed and only 56.00% pupal mortality was found at the rate of 400 IJs/cm2. Persistence of three selected EPNs (H. indica EPNKU82, H. bacteriophora and S. siamkayai) was estimated at 1, 3, 5, 7 and 9 days of exposure on eight substrates where water-soaked cotton was replaced by 10% moist sand by baiting larvae at the last instar larvae of Galleria mellonella. Heterorhabditis indica EPNKU82 showed high persistence on SAN and FT7 causing 83.33–100.00% and 90.00–100.00% mortality at 1–9 days of exposure. Similarly, H. bacteriophora showed high persistence of EPN on SAN and CB7 and the insect mortality ranged from 93.33–100.00% and 90.00–100.00% at 1–9 days of exposure. Only on the 1 day of exposure S. siamkayai still had 90.00% mortality of the last instar larvae of G. mellonella. | en_US |
dc.description.sponsorship | Participatory and Integrative Support for Agricultural Initiative (PISAI project) | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Stomoxys calcitrans | en_US |
dc.subject | Entomopathogenic nematodes | en_US |
dc.subject | Stable fly Control | en_US |
dc.title | Potential Application of Entomopathogenic Nematodes for Management of Stable fly, Stomoxys calcitrans (L.) under Laboratory Conditions | en_US |
dc.title.alternative | ศักยภาพการประยุกต์ใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงเพื่อการจัดการแมลงวันคอกสัตว์ Stomoxys calcitrans (L.) ภายใต้สภาพห้องปฏิบัติการ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Pest Management) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช | - |
dc.description.abstract-th | แมลงวันคอกสัตว์ (Stomoxys calcitrans) เป็นแมลงวันที่มีความสำคัญทางปศุสัตว์ เนื่องจากสร้างความรำคาญและเป็นพาหะนำโรคต่อปศุสัตว์ เกษตรกรจึงต้องใช้วิธีการที่หลากหลายในการควบคุมแมลงวันคอกสัตว์ ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง เป็นวิธีการหนึ่งที่นำมาใช้ในการควบคุมแมลงวันคอกสัตว์ได้ เนื่องจากไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงเป็นชีวภัณฑ์ที่ก่อโรคแก่แมลงที่ดำรงชีวิตอยู่ตามพื้นดิน การศึกษานี้ได้นำวัสดุบริเวณคอกสัตว์จำนวน 8 ชนิด ประกอบด้วย มูลวัวอายุไม่เกิน 12 ชั่วโมง (FCM12) มูลวัวอายุ 7 วัน (CM7) หญ้ารังนอนอายุ 7 วัน (CB7) ปุ๋ยคอก (Man) หญ้าธิโมธีหมักอายุ 7 วัน (FT7) มูลวัวหมักอายุ 7 วัน (FCM7) มูลวัวและหญ้าธิโมธีหมักอายุ 7 วัน (CMFT7) และสำสีชุบน้ำ (ชุดควบคุม, WSC) มาทดสอบความชอบในการเข้าหาวัสดุของแมลงวันคอกสัตว์ในระยะหนอนและตัวเต็มวัยที่ตั้งท้อง พบว่าแมลงวันคอกสัตว์ระยะหนอนมีความชื่นชอบต่อมูลวัวอายุ 7 วันมากที่สุด คิดเป็น 26.70 เปอร์เซ็นต์ ตัวเต็มวัยเพศเมียที่ตั้งท้องมีความชื่นชอบในการวางไข่ที่มูลวัวอายุไม่เกิน 12 ชั่วโมง มากที่สุด คิดเป็น 55.00 เปอร์เซ็นต์ การทดสอบประสิทธิภาพการก่อโรคของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงจำนวน 6 สายพันธุ์ (Steinernema scarabaei EPNKU60, S. carpocapsae, S. siamkayai, Heterorhabditis indica EPNKU64, H. indica EPNKU67, H. indica EPNKU82 และ H. bacteriophora) ที่อัตรา 0, 25, 50, 100, 200 และ 400 infective juveniles (IJs) /cm2 ที่มีต่อระยะหนอนแมลงวันคอกสัตว์วัย 2, 3 และระยะดักแด้ ด้วยวิธี filter paper bioassays พบว่าไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ H. bacteriophora เข้าทำลายระยะหนอนของแมลงวันคอกสัตว์วัย 2 ได้ถึง 100.00 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 200 IJs/cm2 นอกจากนั้นไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ H. bacteriophora และ H. indica EPNKU82 ที่อัตรา 400 IJs/cm2 เข้าทำลายระยะหนอนของแมลงวันคอกสัตว์วัย 3 เป็น 80.00 และ 100.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ในขณะที่ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงชนิดอื่นทำให้ระยะหนอนของแมลงวันคอกสัตว์มีอัตราการตายน้อยกว่า 30.00 เปอร์เซ็นต์ สำหรับระยะดักแด้ของแมลงวันคอกสัตว์ พบว่ามีอัตราการตายเพียง 56.00 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเข้มข้น 400 IJs/cm2 เท่านั้น นอกกจากนั้น การประเมินความคงค้างของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง 3 สายพันธุ์ (H. indica EPNKU82, H. bacteriophora และ S. siamkayai) ในวัสดุบริเวณคอกสัตว์จำนวน 8 ชนิด ที่ระยะเวลา 1, 3, 5, 7 และ 9 วันหลังการใช้ โดยใช้ทรายที่มีความชื้น 10 เปอร์เซ็นต์ (SAN) เป็นชุดควบคุมทดแทนการใช้สำสีชุบน้ำ และใช้หนอนกินรังผึ้ง (Galleria mellonella) วัยสุดท้ายเป็นเหยื่อ พบว่าไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ H. indica EPNKU82 มีอัตราการตายของหนอนกินรังผึ้งสูงในทราย และหญ้าธิโมธีหมักอายุ 7 วัน อยู่ระหว่าง 83.33–100.00 และ 90.00–100.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่ระยะเวลา 1–9 วัน หลังการใช้ ในทำนองเดียวกันไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ H. bacteriophora มีอัตราการตายของหนอนกินรังผึ้งในทราย และหญ้ารังนอนอายุ 7 วัน อยู่ระหว่าง 93.33–100.00 และ 90.00–100.00 เปอร์เซ็นต์ ที่ระยะเวลา 1–9 วันหลังหลังการใช้ สำหรับไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ S. siamkayai พบว่า ทำให้หนอนกินรังผึ้งตายมากกว่า 70.00% เพียงระยะเวลา 1 วัน หลังการใช้ | en_US |
Appears in Collections: | 535 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210620008.pdf | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License