Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทิศ สังขรัตน์-
dc.contributor.authorประวีณ ถาวรจิตร-
dc.date.accessioned2023-02-23T08:21:43Z-
dc.date.available2023-02-23T08:21:43Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17840-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนามนุษย์และสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThis study aims to 1 ) study operational conditions 2 ) activities and services that promote lifelong learning 3) analyze guidelines for library development of Prince of Songkla University to be a promoting library for lifelong learning in the online media age.Thestudy is done using qualitative research methods to collect data by observing and learning from in-depth documents and interviewing informants which consist of 5 university's administrators and Khunying Long Athakravisunthorn Learning Resources Center administrators, 20 librarians and library staffs, and 25users. The analyze processes are conducted by categorize data, interpretation, draw conclusions and present the findings in a portrayal analytical way. The results show that 1) The operational conditions are conducive to promoting lifelong learning in the online media era with the readiness of information resources, human resources, and physical structure as well as a strong cooperation network. 2) The activities and services that support lifelong learning are in many kinds of events and services. They provide both online and printed resources in wide range of disciplines. 3) The development guidelines are the transition from a former library to a living library by making efficient use of space and resources based on education and in-depth analysis to create various kind of knowledge sharing spaces which aim to encourage the creation of knowledge, research and innovations and leads to the development of people, organization, and society.The encouragement of using online media helps the organization meet the needs of users. The more proactive activities and services. It also helps building a partnership of campus libraries and make a strong collaborative network to share more resources.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการบริหารห้องสมุดกับการศึกษาต่อเนื่องen_US
dc.subjectการบริหารห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุคสื่อออนไลน์ กรณีศึกษาสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.title.alternativeGuidelines for the Development of a Higher Education Institution Library to Promote Lifelong Learning in the Online Media Age: A Case Study of Khunying Long Athakravisunthorn Learning Resources Center, Prince of Songkla Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินงาน 2) กิจกรรมและบริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3) วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ให้เป็นห้องสมุดเพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในยุคสื่อออนไลน์ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสังเกต ศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย และผู้บริหารของสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร จำนวน 5 คน บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ จำนวน 20 คน และผู้รับบริการ จำนวน 25 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำข้อมูลมาจำแนกหมวดหมู่ ตีความ สร้างข้อสรุปและนำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการดำเนินงานของสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร เอื้อต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในยุคสื่อออนไลน์ ด้วยความพร้อมในด้านทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างทางกายภาพ รวมถึงเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็ง 2) กิจกรรมและบริการที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต พบว่า มีการจัดกิจกรรมและบริการในหลายรูปแบบ มีทรัพยากรสารสนเทศทั้งรูปแบบออนไลน์และฉบับพิมพ์จำนวนมาก ครอบคลุมกลุ่มสาขาวิชาที่หลากหลาย 3) แนวทางการพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในยุคสื่อออนไลน์ มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงจากห้องสมุดรูปแบบเดิมเป็นห้องสมุดที่มีชีวิต ด้วยการใช้พื้นที่และทรัพยากรอย่างคุ้มค่าบนพื้นฐานของข้อมูลที่มีการศึกษาและวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อพัฒนาให้เกิดพื้นที่แห่งการแบ่งปันความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ โดยมุ่งหวังให้เกิดองค์ความรู้ งานวิจัยหรือนวัตกรรม อันนำไปสู่การพัฒนาคน พัฒนาองค์กร และสังคมได้อย่างแท้จริง การส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้สื่อรูปแบบออนไลน์มากขึ้น เพื่อให้สอดรับกับยุคสมัยและความต้องการของผู้รับบริการที่เปลี่ยนแปลงไป การจัดกิจกรรมและบริการเน้นรูปแบบเชิงรุก รวมถึงการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของห้องสมุดวิทยาเขตและการใช้เครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งในการแบ่งปันทรัพยากรให้มากขึ้นen_US
Appears in Collections:890 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6011121014.pdf8.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons