Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอนุวัติ แซ่ตั้ง-
dc.contributor.authorณัฐพงศ์นิธิอุทัย-
dc.date.accessioned2022-11-21T04:10:10Z-
dc.date.available2022-11-21T04:10:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17647-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305337-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.titleการพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูงen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Prevulcanized Latex for High Valued Casting Applicationsen_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูงen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาการเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ โดยใช้อุณหภูมิที่แตกต่างกันในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์ ซึ่งได้แก่ 50, 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ดัชนี การบวมพองมีค่าลดลงด้วยอัตราเร็วตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ เมื่อนำน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์มาเตรียมเป็นแผ่นฟิล์ม 2 รูปแบบ ได้แก่ แผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์ และแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ พบว่า ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์จะขึ้นอยู่กับปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์เป็นสำคัญ ในขณะที่ ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ไม่มีผลจากปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์อย่างมีนัยสำคัญ การใช้สภาวะในการเตรียมพรีวัลคา ไนซ์ที่แตกต่างกัน (ที่ดัชนีการบวมพองเท่ากัน) จะส่งผลต่อสมบัติของน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่เตรียมได้ แต่ไม่ส่งผลต่อสมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยาง การเพิ่มปริมาณของสาร เพิ่มความเสถียร (สบู่) ทั้งสองชนิดคือ K-oleate และ Sodium Lauryl Sulphate (SDS) ในน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ จะส่งผลให้ความเสถียรของน้ำยางมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซิงค์ออกไซด์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์สูญเสียสภาพความเป็นคอลลอยด์ โดยเมื่อไม่มีการใช้ซิงค์ออกไซด์ในระบบการเตรี ยมน้ำยางธรรมชาติคอมเปาด์ พบว่า น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ยังคงสภาพความเป็นคอลลอยด์ได้นานกว่า 90 วัน และยังให้สมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยางที่ใกล้เคียงกับน้ำ ยางธรรมชาติ พรีวัลคาไนซ์ทางการค้า การเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์เพื่อใช้ในการทำเบ้าหินเทียม พบว่า ต้องใช้วิธีการ 2 ขั้นตอน ในการทำเบ้าดังกล่าว นั่นคือ กา รพ่นสเปรย์และการทาด้วยแปรง โดยน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ที่ใช้สำหรับการทาด้วยแปรงเป็นน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่ต้องมีการผสมกับสารเพิ่มความหนืด 2%CMC ใน ปริมาณ 1 phr ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสมในการใช้ทำเบ้าหินเทียมen_US
Appears in Collections:741 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.