Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17614
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ | - |
dc.contributor.author | ไพโรจน์ คีรีรัตน์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-09T07:51:53Z | - |
dc.date.available | 2022-11-09T07:51:53Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17614 | - |
dc.identifier.uri | https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308188 | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | การศึกษา | en_US |
dc.subject | การศึกษาขั้นมัธยม | en_US |
dc.subject | ครูมัธยมศึกษา | - |
dc.subject | ครูพี่เลี้ยง | - |
dc.title | โครงการ “อำนวยการเพื่อความยั่งยืนของโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา” | en_US |
dc.title.alternative | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “อำนวยการเพื่อความยั่งยืนของโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา” | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Mechanical Engineering | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล | - |
dc.description.abstract-th | หน่วยจัดการกลางโครงการเพาะพันธุ์ปัญญามีหน้าที่พัฒนาองค์ความรู้ที่ครูเป็นโค้ชนักเรียนให้สร้างปัญญาจากการทำโครงงานฐานวิจัย การดำเนินงานในระยะที่ 2, เป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืนในระบบและขยายองค์ความรู้ให้เป็นโครงงานที่บูรณาการสะเต็มศีกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือที่เรียก SEEEM (Science, Economics, Ecology, Engineering, Mathematics) หน่วยได้สร้างความยั่งยืนในระบบผ่านทางการพัฒนาศึกษานิเทศก์ในเขตโรงเรียนเพาะพันธุ์ปัญญาให้ทำงานร่วมกับพี่เลี้ยง การนำไปใช้ในโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partnership School) ของบริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัด ใช้ในเขตนวัตกรรมการศึกษาศรีสะเกษและระยอง และได้รับการสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ให้ดำเนินการในจังหวัดสงขลาและสตูล และสนับสนุนให้โรงเรียนต้นแบบ 16 โรง มีความเข้มแข็งที่จะเป็นที่พึ่งแก่โรงเรียนอื่นเมื่อสิ้นสุดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเข้าใจการสอนโครงงาน SEEEM ได้รับความสนใจนำไปดำเนินการและประสบความสำเร็จในหลายโรงเรียน ผลการทำงานวิจัยได้สร้างความรู้ในรูปหนังสือทั้งสิ้น 13 เล่ม ได้แก่ ชุดเบญจปัญญา (5 เล่ม) เพาะพันธุ์ ปัญญาด้วย PLC หลักการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์และสะเต็ม SEEEM: มิติใหม่ของการผสานสะเต็มและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการศึกษา กล้าพันธุ์ผู้ก้าวพ้น เขียนคือคิด คุรุควรคารวะ นวัตกรรมกึ่งสำเร็จรูป และจากรากแก้วถึงผลของต้นเพาะพันธุ์ปัญญา การวิเคราะห์ (earning analytic จากข้อมูลจำนวนมาก (big data) พบว่านวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา ได้ผลกับการพัฒนาครูและนักเรียนมากกว่านวัตกรรมอื่นในช่วงเดียวกัน (โครงการอบรมครูสะเต็มศึกษาและโครงการคูปองพัฒนาครู) ผลสัมฤทธิ์การถ่ายทอดความรู้และทักษะที่เป็นองค์ความรู้และกระบวนการของเพาะพันธุ์ปัญญา 4 ระดับ 3 ขั้นตอน คือ จากหน่วยจัดการกลางไปยังพี่เลี้ยง จากพี่เลี้ยงสู่ครู และครูสู่นักเรียน พบว่าการถ่ายทอดระหว่างคู่หน่วยจัดการกลาง-พี่เลี้ยง และครู-นักเรียนเป็นไปด้วยดี แต่ยังมีปัญหาที่รอยต่อที่ครูรับจากพี่เลี้ยง | en_US |
Appears in Collections: | 215 Research |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.