Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกำพล ประทีปชัยกูร-
dc.contributor.authorไพโรจน์ คีรีรัตน์-
dc.contributor.authorฐานันดร์ศักดิ์ เทพญา-
dc.date.accessioned2022-11-07T08:02:35Z-
dc.date.available2022-11-07T08:02:35Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17587-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/303892-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectพลังงานen_US
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซลen_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพen_US
dc.titleโครงการ "ครุวิจัย-พลังงานในพื้นที่ 5 จังหวัด"en_US
dc.title.alternativeKuruvijai-energy in the 5 provincial areasen_US
dc.title.alternativeรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ "ครุวิจัย-พลังงานในพื้นที่ 5 จังหวัด"en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Mechanical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล-
dc.description.abstract-thโครงการครุวิจัยพลังงาน เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของครูด้วยกระบวนการวิจัยจากประสบการณ์นอกห้องเรียน เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครู ที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของนักเรียน โดยการฝึกการทำวิจัยเป็นเวลา 1 เดือน สถานวิจัยเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดการเรียนรู้เป็น 3 ส่วนให้แก่ครู 20 คน คือ การบรรยายเนื้อหาพื้นฐานด้าน วิทยาศาสตร์พลังงาน วิธีการทำวิจัย การเรียนรู้ด้วยการลงปฏิบัติ ซึ่งมี 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอนุรักษ์พลังงาน กลุ่มอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ กลุ่มเชื้อเพลิงแข็งและก๊าซชีวมวล กลุ่มไบโอดีเซล กลุ่มพลังงานลม และกลุ่ม ก๊าซชีวภาพ และการเรียนรู้ด้วยการทัศนศึกษา ได้แก่ ทัศนศึกษาอารยะธรรมรอบทะเลสาบสงขลา การวิจัย การท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก ผลการฝึกครูทำวิจัยครั้งนี้ ได้ทำให้ครูมี ความรู้พื้นฐานด้านพลังงาน สามารถออกแบบการทดลองเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานครูแต่ละดนสามารถเขียนผลงานวิจัยเป็นรายงานและบทความวิจัยได้ ผลงานวิจัย 17 เรื่อง ครูที่เข้าอบรมมีทัศนคดิที่ดีด่อการทำวิจัยด้านพลังงานและได้นำประสบการณ์ที่ได้ไป ขยายผลต่อที่โรงเรียน เช่น การให้นักเรียนทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ในชุมชน การทำไบโอดีเซลใน โรงเรียน การผลิตก๊าซชีวภาพ เป็นต้น สรุปผลของโครงการนี้ ครูได้ความรู้และได้ประสบการณ์จากนอกห้องเรียนที่สามารถนำไปพัฒนาการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ ทั้งนี้เสนอแนะให้ติดตามและให้ทุนสนับสนุนแก่ครูกลุ่มนี้ต่อเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ทำวิจัยอย่างต่อเนื่องจนได้เป็นตัวอย่างแก่ครูคนอื่นจนสามารถสร้างผลงานวิจัยและสาระการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองen_US
Appears in Collections:215 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.