Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรทิพย์ ศรีแดง-
dc.contributor.authorจุไรวัลย์ รัตนะพิสิฐ-
dc.date.accessioned2022-11-07T04:05:59Z-
dc.date.available2022-11-07T04:05:59Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17585-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/227908-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectน้ำมันปาล์มen_US
dc.subjectวิตามินอีen_US
dc.subjectเมนเบรน (เทคโนโลยี)en_US
dc.titleการพัฒนาเทคนิคการสกัดแยกวิตามินอีบริสุทธิ์เข้มข้นจากน้ำมันปาล์มดิบด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of extraction-separation technique for purifying vitamin E from crude palm oil by membrane technologyen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนาเทคนิคการสกัดแยกวิตามินอีบริสุทธิ์เข้มข้นจากน้ำมันปาล์มดิบด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Chemical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสกัดแยกวิตามินอีจากน้ำมันปาล์มดิบ โดยใช้วิธีการสกัดแยกเบื้องตัน (การทำสปอนนิฟิเคชัน) การสกัดแยกเบื้องต้นร่วมกับเทคโนโสยีเมมเบรน และการใช้เทคโนโลยีเมมเบรนในการแยกวิตามินอีจากน้ำมันปาล์มดิบโดยตรง โดยพิจารณาจากวิธีการที่ให้ค่าปริมาณวิตามินอีสูงที่สุด ในส่วนของการทำสบ่อนนิฟิเคซัน พบว่าความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์มีผลต่อริมาณวิตามินอีมากกว่าอุณหภูมิและเวลาในการดำเนินการ ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการทำสปอนนิฟิเคชัน คือ ความเข้มข้นของสารละลายโพเทสเซียมไฮดรอกไซด์ 10% ที่อุณหภูมิ 70 ํC และเวลา 30 นาที พบว่ามีการสูญเสีย Beta-tocopherol ประมาณ 20% อย่างไรก็ตามที่สภาวะดังกล่าวไม่สามารถกำจัดไตรกลีเซอร์ไรด์ทั้งหมดได้ จึงมีการใช้กระบวนการผสมผสานระหว่างสปอนนิฟิเคชันและเทคโนโลยีเมมเบรน ระดับอัลตราฟิลเตรชันและนาโนฟิลเตรชันที่ค่าความดันเหมาะสม คือ 3 บาร์ และ 15 บาร์ ซึ่งให้ค่าฟลักข์เฉลี่ยเท่ากับ 36.35 ลิตรต่อตารางเมตรต่อชั่วโมง สำหรับใช้ในการกำจัดไตรกลีเซอร์ไรด์ที่ยังคงเหลือจากการทำปฏิกิริยาสปอนนิฟิเคซันและเพื่อใข้ในการแยกวิตามินอีให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้นต่อไป ซึ่งจากการวิจัยพบว่า กระบวนการผสมผสานดังกล่าวสามารถกำจัดปริมาณไตรกลีเซอร์ไรด์ได้สูงถึง 93% จากปริมาณไตรกลีเซอร์ไรด์ในน้ำมันปาล์มดิบเริ่มต้น และเมมเบรนนาโนฟิลเตรชันระดับที่สอง (NP030) สามารถแยกวิตามินอื่ได้ 63% ที่ช่วงความดัน 30.0-31.0 บาร์ โดยให้ค่าฟลักซ์เฉลี่ย 7 ลิตรต่อตารางเมตรต่อชั่วโมง ส่วนในงานวิจัยที่แยกวิตามินอีโดยใช้เทคโนโลยีเมมเบรนโดยตรงพบว่า เมมเบรนระดับไมโครฟิลเตรซัน, อัลตราฟิลเตรชัน และนาโนฟิลเตรชันขั้นแรกสามารถแยกไตรกลีเซอร์ไรด์ใด้ 80% จากปริมาณไตรกลีเซอร์ไรด์ในน้ำมันปาล์มดิบเริ่มต้น และเมมเบรนนาโนพีลเตรชันระดับที่สอง (NP030) สามารถแยกวิตามินอีได้ 65% ที่ช่วงความดัน 38.0-39.0 บาร์ และให้ค่าฟลักซ์เฉลี่ย 6.7 ลิตรต่อตารางเมตรต่อชั่วโมง โดยสมรรถนะและประสิทธิภาพของแต่ละกระบวนการจะวิเคราะห์จากตัวอย่างที่ผ่านการกรอง (ส่วนที่ผ่านเมมเบรน) โดยพิจารณาสภาวะที่เหมาะสมจากปริมาณ Beta-tocopherol ที่ได้เป็นหลัก โดยพบว่า กระบวนการผสมผสานระหว่างสปอนนิฟิเคชัน และเทคโนโลยีเมมเบรนเป็นวิธีการที่ เหมาะสมที่สุดในการแยกวิตามินอีออกจากน้ำมันปาล์มดิบ เนื่องจากมีการใช้ความดันในการดำเนินการต่ำและให้ค่าเปอร์เซ็นต์การกำจัดไตรกลีเซอร์ไรด์สูงen_US
Appears in Collections:220 Research
230 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
326370-abstract.pdf467.07 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.