Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร คุณวิชิต-
dc.contributor.authorชนิสรา จันทร์ฉาย-
dc.date.accessioned2022-10-31T09:52:03Z-
dc.date.available2022-10-31T09:52:03Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17566-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research is to examine the coordination among central, provincial, and local administrations in response to the COVID-19 crisis in Pattani Province, to investigate the problems or challenges encountered as these administrative organizations attempted to coordinate with one another, and to provide recommendations on how to improve crisis coordination in the future based on the research findings. This study included 21 public officials who were directly involved in the COVID-19 crisis response in Pattani Province. In-depth interviews were used to collect data, which were then analyzed using a content analysis technique. The findings revealed four dimensions of coordination in response to the COVID-19 crisis in Pattani Province: 1) coordination between the central and provincial administrations; 2) coordination between the provincial and provincial administrations; 3) coordination between the provincial and local administrations; and 4) coordination between the central and local administrations. In terms of coordinating mechanisms, patterns, and components, each dimension of coordination is similar. Nevertheless, there may be some variations depending on the settings and circumstances. In terms of problems or difficulties. Seven issues were found to have hindered a coordinated response to the COVID-19 crisis in this province. Among them are: 1) Rules or laws that create certain authorities and structures that are incompatible with coordination; 2) Some officials' poor work habits and competencies; 3) Inadequate funding; 4) High-level officials' direction that is out of step with local conditions; 5) people' insufficient collaboration; 6) the officials' use of irrelevant technologies in coordination; and 7) the urgency of the crisis. Based on the findings, six recommendations for improving crisis coordination are provided: 1) learning more about all related laws and regulations; 2) coordination should be more clarified, coherent, and flexible based on specific contexts and situations; 3) an adequate budget should be provided to support the mission; 4) adequate and consistent direction, monitoring, and advice from high-level officials should be provided to frontline officials; 5) awareness about the situation should be promoted in all sectors; and 6) technologies and innovations should be more utilized to enhance coordination.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการประสานงานen_US
dc.subjectราชการส่วนกลางen_US
dc.subjectราชการส่วนภูมิภาคen_US
dc.subjectราชการส่วนท้องถิ่นen_US
dc.subjectโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019en_US
dc.titleความท้าทายในการประสานงานระหว่างราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดปัตตานีen_US
dc.title.alternativeThe Challenges in Coordination of Central, Provincial and Local Administrations during the COVID-19 Situation In Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประสานงานระหว่างราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น ในการบริหารสถานการณ์วิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ศึกษาปัญหาอุปสรรคของการประสานงาน และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงการประสานงาน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการบริหารสถานการณ์ดังกล่าว จำนวน 21 คน ใช้แบบการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การประสานงานระหว่างราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น ในการบริหารสถานการณ์ดังกล่าว ได้แก่ 1) การประสานงานระหว่างราชการส่วนกลางและภูมิภาค 2) การประสานงานระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและภูมิภาค 3) การประสานงานระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น และ 4) การประสานงานระหว่างราชการส่วนกลางและท้องถิ่น ซึ่งมีกลไก รูปแบบ และองค์ประกอบของการประสานงานคล้ายคลึงกันในภาพรวม แต่แตกต่างกันบ้างตามบริบทพื้นที่และสถานการณ์ โดยปัญหาอุปสรรคของการประสานงานในสถานการณ์ดังกล่าว ของจังหวัดปัตตานีที่พบ คือ 1) ระเบียบหรือข้อกฎหมาย ที่กำหนดโครงสร้างและอำนาจหน้าที่บางประการไม่เอื้อต่อการประสานงาน 2) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการมีสมรรถนะเชิงลบ 3) งบประมาณที่ไม่เพียงพอกับการปฏิบัติ 4) การอำนวยการของผู้บริหารที่ไม่สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ 5) การให้ความร่วมมือที่ไม่เพียงพอของประชาชนในพื้นที่ 6) การใช้เทคโนโลยีทั้งของเจ้าหน้าที่และผู้บริหารที่ยังไม่เหมาะสมกับการประสานงาน และ 7) มีระยะเวลาการประสานงานและการทำงานที่จำกัดและเร่งด่วน ซึ่งข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงการประสานงานของจังหวัดปัตตานีให้ดียิ่งขึ้น คือ 1) ควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบหรือข้อกฎหมาย 2) ควรสร้างความชัดเจนและความเชื่อมโยงในการประสานงาน รวมถึงมีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์ 3) ควรมีการจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับการประสานงานตามภารกิจหน้าที่ 4) ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาควรกำกับ ติดตาม และให้คำปรึกษา 5) ควรประชาสัมพันธ์ร่วมกันทุกภาคส่วนเพื่อสร้างความตระหนักรู้ร่วมกัน และ 6) ควรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการประสานงานมากขึ้นen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210521512.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons