Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปทุมทิพย์ ทองเจริญ-
dc.contributor.authorวิภาลักษณ์ ดุจแสงทอง-
dc.date.accessioned2022-09-19T07:33:00Z-
dc.date.available2022-09-19T07:33:00Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17545-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to study the factors affecting the performance of personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality; 2) to compare the performance of personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality by personal factors and 3) to study the motivation factors affecting the performance of personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality. In this study, quantitative research method was used. The population was a total of 976 officers of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality and a questionnaire was used as a research instrument in collecting data from 300 officers. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, and multiple regression analysis. The results showed that 1) the performance of personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality was at a high level, in which the performance in terms of quality of work ( = 4.08) showed the highest average score, followed by time ( = 3.94), while throughput ( = 3.88) showed the lowest average score; 2) the comparison of performance of the personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality by personal factors showed that the officers with different position, year of service and monthly income had difference in performance at a statistical significance level of 0.05 and 3) the work motivation factors that showed significant effects on the performance of personnel at a statistical significance level of 0.05, in descending order, were responsibility ( = 0.400), job descriptions ( = 0.154), recognition ( = 0.152) and career progression ( = 0.108). According to the findings, the Public Health Office, Hat Yai City Municipality should improve its work system by reducing redundancy and resource costs in order to increase the performance of the personnel of the Public Health Office, Hat Yai City Municipality, Hat Yai District, Songkhla Province.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานคครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสิทธิภาพการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectแรงจูงใจในการทำงานen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Factors Affecting Performance Efficiency of Province Public Health Officer, Hat Yai City Municipality, Hat Yai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนัก การสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ พนักงานสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 976 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 300 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ อยู่ในระดับมาก โดยด้านคุณภาพของงานมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( = 4.08) รองลงมา คือ ด้านเวลา ( = 3.94) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านปริมาณงาน ( = 3.88) ตามด้วย 2) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ตำแหน่งงาน อายุงาน และรายได้ต่อเดือน มีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฎิบัติงานของบุคลากร มี 4 ด้าน เรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านความรับผิดชอบ ( = 0.400) ด้านลักษณะงานที่ทำ ( = 0.154) ด้านการได้รับการยอมรับ ( = 0.152) และด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ( = 0.108) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ สำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ ควรปรับปรุงระบบการทำงานโดยลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน และลดค่าใช้จ่ายในการใช้ทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521538.pdf977.96 kBAdobe PDFView/Open
บทความวิจัย - วิภาลักษณ์.pdf691.69 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons