Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒนิจ โกญจนาท-
dc.contributor.authorณภัส ทองมีขวัญ-
dc.date.accessioned2022-09-14T08:59:14Z-
dc.date.available2022-09-14T08:59:14Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17511-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561en_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were to study the customers’ satisfaction level and customers’ demographic data and to study the relationship between demographic data and the customers ‘satisfaction. The study was a survey research design. The sample of 385 respondents was chosen from the population by using the Convenience Sampling Method. The data were collected by questionnaires. The statistics used in the study were percentage, mean, standard deviation, t-test Independent, One-way Anova and Fisher’s Significant Difference (LSD. The results were the overall of the Customers’ Satisfaction with the financial services was in high level. Considering in each part divided, we found the customers highest to lowest level of satisfaction were staff product, service physical, appearance, service process, fee, location, and promotion, respectively. The customers with their different age and income had some different satisfaction statistical significance level while the customers with their different in gender, status, occupation, level of education and type of transection statistically insignificant in general. The suggestions from the study were increasing the number of Automatic Machines, reduced the document and process for the service and sold promotion in other areas.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความพึงพอใจของลูกค้าen_US
dc.subjectธนาคารen_US
dc.subjectลักษณะประชากรศาสตร์en_US
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าในการใช้บริการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeCustomer’s Satisfaction in Using the Service Bank for Agriculture and Agricultural Co operatives, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการศึกษา ความพึงพอใจของลูกค้าในการใช้บริการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความพึงพอใจ และลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้ใช้บริการธนาคาร และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ จากกลุ่มตัวอย่าง 385 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการวิเคราะห์ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติอนุมาน โดยหาค่าที ค่าความแปรปรวนแบบทิศทางเดียว และใช้การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยวิธีการ LSD ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของลูกค้าผู้ใช้บริการธนาคารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านบุคลากร ด้านผลิตภัณฑ์บริการ ด้านลักษณะกายภาพภายนอก ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านราคาค่าธรรมเนียม ด้านสถานที่การให้บริการ และ ด้านการส่งเสริมการขาย ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการธนาคาร พบว่า ลูกค้าที่มีอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ สถานภาพ อาชีพ การศึกษา ธุรกรรมที่มาใช้บริการแตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา คือ เพิ่มจำนวนตู้ ATM ลดขั้นตอนในการเตรียมเอกสารเพื่อขอรับบริการ และ ส่งเสริมการขายในด้านอื่นๆen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons