Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒนิจ โกญจนาท-
dc.contributor.authorอารีรัตน์ บุญรัตน์-
dc.date.accessioned2022-09-14T08:53:32Z-
dc.date.available2022-09-14T08:53:32Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17509-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561en_US
dc.description.abstractThis research aims to study 1) the perceived organizational support, 2) the performance effectiveness, 3) the difference of performance effectiveness classified by personal factors, and 4) the perceived organizational support influencing the performance effectiveness among customer service agent. The samples in this study are 109 customer service agent of Pan Thai Air (Bangkok) Company Limited at Phuket International Airport. Statistics used in data analysis are frequencies, percentages, means, standard deviations, independent sample t-test, one way ANOVA, and multiple regression analysis. The research results found that 1) the perceived organizational support of customer service agent were at a moderate level, with the highest level being the aspect concerning stability in work, 2) the performance effectiveness were at a high level, with the highest level being the aspect concerning knowledge of the job, 3) the customer service agent with different of personal factors showed no significant differences on performance effectiveness, and 4) the perceived organizational support in aspect of social psychology and working condition significantly influence the performance effectiveness in order of importance from most to least. Based on research findings, the company executives should provide emotional support to employees by praising them when they work successfully through activities or channels of company such as the announcing to be an outstanding employee, awarding, and publicity in journals or publications of the agency. Such operation will make employees feel proud and be willing to work that leads to more performance effectiveness.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรen_US
dc.subjectประสิทธิผลการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectพนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้นen_US
dc.titleปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้น บริษัท แพนไทย แอร์ (กรุงเทพ) จำกัดen_US
dc.title.alternativePersonal Factors and Perceived Organizational Support Influencing the Performance Effectiveness among Customer Service Agent of Pan Thai Air (Bangkok) Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร 2) ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน 3) การเปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิผลการปฏิบัติงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 4) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้น โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้น บริษัท แพนไทย แอร์ (กรุงเทพ) จำกัด ณ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต จำนวน 109 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีแบบกลุ่มอิสระ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) พนักงานมีการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีการรับรู้ด้านความมั่นคงในการทำงานสูงกว่าด้านอื่น ๆ 2) พนักงานมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก โดยมีประสิทธิผลด้านความรู้เกี่ยวกับงานสูงกว่าด้านอื่น ๆ 3) พนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน มีประสิทธิผลการปฏิบัติไม่แตกต่างกัน และ 4) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ด้านจิตอารมณ์มีอิทธิพลมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านสภาพการทำงาน ตามลำดับ จากข้อค้นพบของการศึกษา ผู้บริหารของบริษัทฯ ควรสนับสนุนด้านจิตอารมณ์ให้กับพนักงานโดยการยกย่องชมเชยเมื่อปฏิบัติงานได้สำเร็จ ผ่านกิจกรรมหรือช่องทางต่าง ๆ เช่น การประกาศเป็นพนักงานดีเด่น การมอบรางวัลโล่เกียรติยศ หรือการประชาสัมพันธ์ลงในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ของหน่วยงาน เป็นต้น เพื่อให้พนักงานเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ และเต็มใจที่จะปฏิบัติงาน ทำให้ผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิผลมากขึ้นen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons