Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17494
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพร คุณวิชิต | - |
dc.contributor.author | รจนกร มณีโชต | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-14T02:56:17Z | - |
dc.date.available | 2022-09-14T02:56:17Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17494 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This study aimed (1) to study problems or administration challenges to serve patients, (2) to study administration guidelines to serve patients continuously and safely and (3) to suggest ways to adjust the service administration of the Hypertension and Diabetes Clinic of Chana Hospital under the COVID-19 situation. Key informants in this study were 30 officers in the Hypertension and Diabetes Clinic of Chana Hospital. Data were collected through in-depth interview and focus-group discussion. The results showed that, during the COVID-19 situation, the Hypertension and Diabetes Clinic of Chana Hospital faced three major challenges. These included time management, insufficient space for service provision, long wait time and service-area overcrowding which are not consistent with the safety standard. It is recommended that Chana Hospital improve its crisis management practice to mitigate the impacts of COVID-19 on its operations, reduce the impacts on people’s health, educate and build awareness among the people so that people can be prepared to respond to it. The hospital should also assess the situation and develop measures to respond to it more appropriately. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การบริหารจัดการ | en_US |
dc.subject | การให้บริการ | en_US |
dc.title | แนวทางการปรับการบริหารจัดการการให้บริการของคลินิกโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิต โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 | en_US |
dc.title.alternative | Services Administration Adaptationof the Hypertension and Diabetes Clinic of Chana Hospital, Songkhla Province under the COVID-19 Situation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาหรือความท้าทายในการบริหารจัดการเพื่อให้บริการผู้ป่วย ของคลินิกโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิต (2) ศึกษาการปรับแนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้บริการคนไข้ได้อย่างต่อเนื่องและปลอดภัย และ(3) เสนอแนะแนวทางการปรับการบริหารจัดการการให้บริการของคลินิกโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิต โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ผู้ให้ข้อมูลหลักที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรและผู้มารับริการในคลินิกโรคเบาหวาน - โรคความดันโลหิต โรงพยาบาลจะนะ ทั้งหมด 30 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า ด้านการบริหารจัดการ พบปัญหาในเรื่องของการบริหารเวลาในการมารักษา ด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน ปัญหาที่พบ คือ สถานที่ไม่เพียงพอต่อการรองรับการรักษา ด้านมาตรฐานความปลอดภัย ปัญหาที่พบคือ มีความแออัด ระยะเวลารอคอยนาน แนวทางการปรับการบริหารจัดการการให้บริการของคลินิกโรคเบาหวาน – โรคความดันโลหิต โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ควรมีการยกระดับการบริการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ให้อยู่ในวงจำกัด ลดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชน สร้างความตระหนักรู้เท่าทันและเตรียมความพร้อมในการรับมือกับการแพร่ระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล ตลอดจนประเมินสถานการณ์และวางมาตรการในการป้องกันและรองรับสถานการณ์อย่างเหมาะสม | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
บริหารจัดการโควิด 19 รจนกร 63101530-8-5-2565-1.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License