Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร คุณวิชิต-
dc.contributor.authorวรวิทย์ หมุดละ-
dc.date.accessioned2022-09-14T02:11:44Z-
dc.date.available2022-09-14T02:11:44Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17490-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThis research aimed to 1) explore the leadership characteristics and the career growth of LGBTQ employees based on personal characteristics, 2) understand the relationship between the characteristics of each type of leadership and the career growth, and 3) identify the obstacles that impede career growth of these LGBTQ employees. The samples were 384 LGBTQ employees working in the government agencies, state enterprises, and private organizations in Songkhla. The statistical tools used in the analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, F-test with One Way ANOVA, and Pearson Correlation Coefficient. The finding revealed that LGBTQ employees who earn a different level of salary and have a different work duration reflected a different level of attitude toward the leadership characteristics at the significant level of .05. On the other hand, LGBTQ employees who work in different types of organizations and have a different work duration resulted in a different level of career growth at the significant level of .05. The supportive leadership characteristics had a fairly low positive relationship with the career growth while the outward leadership, the achievementoriented leadership, and the participative leadership had a low positive relationship with the career growth at a significant level of .01. Additionally, the majority of the samples suggested the problems related to welfare policy that does not cover LGBTQ couples, followed by the opinion toward the LGBTQ personnel that was likely to be more emotional than rationally, and the perspective of the superiors toward the supporting LGBTQ personnel to promote to a higher positionen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectคุณลักษณะภาวะผู้นำen_US
dc.subjectการเติบโตในการทำงานen_US
dc.subjectกลุ่ม LGBTQen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะภาวะผู้นำกับการเติบโตในการทำงานของบุคลากรกลุ่ม LGBTQ ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนในจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Leadership Characteristics and Career Advancement of LGBTQ Employees in Government Agency, State Enterprise, and Private Organizations in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาคุณลักษณะภาวะผู้นำและการเติบโตใน การทำงานของบุคลากรกลุ่ม LGBTQ ในหน่วยงานราชการรัฐวสิาหกิจและเอกชน จำแนกตามข้อมูล ส่วนบุคคลของบุคลากรกลุ่ม LGBTQ 2)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะภาวะผูนำ แต่ละ ประเภทกับการเติบโตในการทำงาน และ3)ศึกษาอุปสรรคแต่ละด้านต่อการเติบโตในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากร LGBTQ ในหน่วยงานราชการรัฐวิสาหกิจและเอกชน ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน จังหวัดสงขลาจำนวน 384คน สถิติที่ใช้คือค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบความแตกต่างของค่าเอฟด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน และการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบวา่ กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับ เงินเดือนและระยะเวลาในการทำงานต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อคุณลักษณะภาวะผู้นำ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ทำงานในองค์กรต่างประเภทกัน และระยะเวลาในการทำงานต่างกัน มีระดับการ เติบโตในการทำงานโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05โดยคุณลักษณะภาวะ ผู้นำด้านผู้นำแบบสนับสนุน มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับค่อนข้างต่ำ กับการเติบโตในการทำงาน ส่วนคุณลักษณะภาวะผู้นำด้านผู้นำแบบ Outward Leadership ด้านผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จและ ด้านผู้นำแบบมีส่วนร่วม มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำ กับการเติบโตในการทำงาน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส าหรับปัญหาอุปสรรคที่พบ ได้แก่ ปัญหาด้านสวัสดิการที่ยังไม่ได้ ครอบคลุมคู่ชีวิตของ LGBTQ ซึ่งยังแตกต่างหรือยังไม่เท่าเทียมดังเช่นกรณีของบุคลากรเพศชาย และเพศหญิง รองลงมาคือ ปัญหาการแสดงความคิดเห็นที่คนในองคก์รบางส่วนยังคงมองบุคลากร กลุ่ม LGBTQ ว่าใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล และปัญหาเกี่ยวกับความคิดของผู้บังคับบัญชาในการ สนับสนุนให้ LGBTQ กา้วไปในตำแหน่งที่สูงขึ้นen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521534.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.