Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุกรี แดสา-
dc.contributor.authorณัฐธิดา อัมโร-
dc.date.accessioned2022-09-13T09:14:10Z-
dc.date.available2022-09-13T09:14:10Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17486-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were to design, develop a program to control, automatically track progress, and increase the overall efficiency of the power plant. It was found that the past efficiency analysis of power plants such as boiler efficiency, total plant efficiency, and OEE. Gross heat rate was not in accordance with criteria. Data of generating power were stored in the distributed control system, DCS. After that, the staff got the data for analysis. It took too much time to get data to improve production process, and the loss of proficiency occurred. This thesis has developed the processing program with automatic control and tracking by installing OPC server software to act as a medium to carry the data and connect OPC client via Matrikon OPC Explorer and MATLAB 2020b programs. The outcome of this program is that it was able to calculate and process power plant efficiency instantaneously such as the efficiency of boiler, of steam turbine, of total power plant, and of overall machinery efficiency, and net heat rate ratio for electricity generation. Moreover, this program also increases the power plant efficiency as follows: 1) boiler efficiency rose up to 4.48% 2). Total plant efficiency was up to 2.16%. Also, gross heat rate which was used to generate power continually decreased to 1,718.36 kJ/kWh. The increase of efficiency and decrease of gross heat rate led to the control of biomass efficiency, the time-saving work for the staff responsible for efficiency analysis and the decreasing costs of power generation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าen_US
dc.subjectการควบคุมและติดตามแบบอัตโนมัติen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าชีวมวลด้วยเทคนิคการควบคุมและติดตามแบบอัตโนมัติen_US
dc.title.alternativeIncreasing efficiency of Biomass Power Plant with Process Monitoring and Controlen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อออกแบบและพัฒนาโปรแกรมสำหรับควบคุมและ ติดตามอัตโนมัติ และเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของโรงไฟฟ้า พบว่าการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้าที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำ (Boiler Efficiency) ประสิทธิภาพ โดยรวมของโรงไฟฟ้า (Total Plant Efficiency) ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) อัตราการ ใช้พลังงานความร้อน เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า (Gross Heat Rate) ของโรงไฟฟ้า ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ กำหนด ซึ่งข้อมูลของการผลิตไฟฟ้าถูกจัดเก็บอยู่ในระบบควบคุมการผลิต (Distributed Control System, DCS) จะต้องใช้ผู้ปฏิบัติงาน และเวลาในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ซึ่งกว่าจะ ได้ข้อมูลเพื่อมาทำการปรับปรุงกระบวนการผลิต ก็เกิดการสูญเสียประสิทธิภาพไปเสียแล้ว งานวิจัยนี้ ได้พัฒนาโปรแกรมประมวลผลด้วยเทคนิคการควบคุมและติดตามแบบอัตโนมัติ โดยทำการติดตั้ง ซอฟต์แวร์รับส่งข้อมูล (OPC Server) เพื่อเป็นตัวกลางในการนำข้อมูลออกมา เชื่อมต่อกับ OPC Client ผ่านโปรแกรม Matrikon OPC Explorer และโปรแกรมประมวลผล MATLAB 2020b ผล การทำงานของโปรแกรมสามารถคำนวณประมวลผลประสิทธิภาพให้กับโรงไฟฟ้าได้อย่างทันทีทันใด ได้แก่ ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำ ประสิทธิภาพของกังหันไอน้ำ ประสิทธิภาพโดยรวมของโรงไฟฟ้า ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร อัตราการใช้พลังงานความร้อน เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าได้ดังนี้ 1.) ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำ เพิ่มขึ้น 4.48% 2.) ประสิทธิภาพโดยรวมของโรงไฟฟ้า เพิ่มขึ้น 2.16% 3.) อัตราการใช้พลังงานความร้อน เพื่อผลิต กระแสไฟฟ้า ลดลง 1,718.36 kJ/kWh ทำให้สามารถควบคุมประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าชีวมวลได้ อย่างต่อเนื่อง ลดเวลาในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และสามารถลด ต้นทุนของการผลิตไฟฟ้าได้en_US
Appears in Collections:228 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310121004.pdf8.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons