Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศกร พิชยดนย์-
dc.contributor.authorอรรถพงศ์ เพ็ชรประสิทธิ์-
dc.date.accessioned2022-09-13T08:58:42Z-
dc.date.available2022-09-13T08:58:42Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17483-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565en_US
dc.description.abstractThis research aims to study the level of perceived innovation characteristics, trusting beliefs, and intention to use E-Fulfillment service. Also, to study the influence of perceived innovation characteristics and trusting beliefs on intention to use E-Fulfillment service. The samples in this study were 80 small and medium E-Commerce entrepreneurs who have never used the E-Fulfillment service before. Online questionnaires were employed as an instrument for collecting data. The statistics used in this study were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results showed that the level of perceived innovation characteristics is high, the level of trusting beliefs is high, and the level of intention to use E-Fulfillment service is moderate. In addition, three perceived innovation characteristics namely trialability, compatibility, and observability have a significant positive impact on intention to use E-Fulfillment service. Moreover, two trusting beliefs namely benevolence and integrity have a significant positive impact on intention to use E-Fulfillment service.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการรับรู้คุณลักษณะของนวัตกรรมen_US
dc.subjectความเชื่อในการไว้วางใจen_US
dc.subjectความตั้งใจใช้en_US
dc.subjectบริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์en_US
dc.subjectผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ซen_US
dc.titleความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์ของผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ซขนาดกลางและขนาดย่อมen_US
dc.title.alternativeIntention to Use E-Fulfillment Service among Small and Medium E-Commerce Entrepreneursen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้คุณลักษณะของนวัตกรรม ความเชื่อในการไว้วางใจ และความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์ ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการรับรู้คุณลักษณะของนวัตกรรมที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์ และศึกษาอิทธิพลของปัจจัยความเชื่อในการไว้วางใจที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบการอีคอมเมิร์ซขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ไม่เคยใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์มาก่อน จำนวน 80 กิจการ ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ระดับการรับรู้คุณลักษณะของนวัตกรรมบริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์อยู่ในระดับสูง ระดับความเชื่อในการไว้วางใจบริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์อยู่ในระดับสูง และระดับความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์อยู่ในระดับปานกลาง พบว่าการรับรู้คุณลักษณะของนวัตกรรมด้านการทดลองใช้ได้ ความเข้ากันได้ และการสังเกตเห็นได้ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่าความเชื่อในการไว้วางใจด้านความเชื่อในความหวังดีและความเชื่อในความซื่อสัตย์ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการอีฟูลฟิลล์เม้นท์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6010521046.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
บทความวิจัย.pdf199.12 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons