Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฆายนีย์ ช. บุญพันธ์-
dc.contributor.authorอาทยา พงศ์ไพบูลย์-
dc.date.accessioned2022-09-13T06:49:56Z-
dc.date.available2022-09-13T06:49:56Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17469-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of the study on factors affecting work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) Pandemic were 1) to determine the level of work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) ; 2) to compare work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) Pandemic classified according to personal factors, and 3) to analyze factors affecting work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) Pandemic. Data were collected from employee at the Office of Disease Prevention and Control 12 Songkhla totalling 230 persons through a questionnaire and analyzed using descriptive statistics consisting of frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The study found that 1) the work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) was at a medium level (=3.09). 2) age, working hour and working in the Emergency Operation Center : EOC were statistically different at the .05 level. 3) working in the EOC were found to have higher stress level than non-working in the EOC. And 4) workload factor and resource problem factor affected the work stress of employee at the Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความเครียดในการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectโคโรนา 2019en_US
dc.subjectศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินen_US
dc.subjectภาระงานและความรับผิดชอบen_US
dc.subjectทรัพยากรในการปฏิบัติงานen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)en_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Work Stress of Employee at The Office of Disease Prevention and Control during the Coronavirus (COVID-19) Pandemicen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความเครียดในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2) เปรียบเทียบระดับความเครียดของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเก็บข้อมูลจากบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา จำนวน 230 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลจากการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา มีความเครียดในการปฏิบัติงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ในระดับปานกลาง (=3.09) 2) บุคลากรที่มีอายุ ชั่วโมงในการทำงาน และการปฏิบัติงานในคณะทำงาน Emergency Operation Center : EOC ที่แตกต่างกันมีระดับความเครียดในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรที่ปฏิบัติงานในคณะทำงาน EOC มีความเครียดมากกว่า และ 4) ปัจจัยด้านภาระงานและความรับผิดชอบ และปัจจัยด้านปัญหาทรัพยากรที่จำเป็นในการปฏิบัติงานส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของของบุคลากรสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)en_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Athaya Pongpaiboon.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
บทความวิจัย Athaya Pongpaiboon.pdf306.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.