Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17445
Title: Modelling the Volatility and Assessing the Performance of the Model: Case Study in Some Indonesia Stock Prices
Other Titles: การจำลองความผันผวนและการประเมินผลของตัวแบบ: กรณีศึกษาราคาหุ้นอินโดนีเซียบางตัว
Authors: Rattikan Saelim
Subhan Ajiz Awalludin
Faculty of Science and Technology (Mathematics and Computer Science)
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
Keywords: การผันผวนและการประเมินผล;ราคาหุ้น;Volatility and Assessing;Stock Prices;Indonesia;อินโดนีเซีย
Issue Date: 2015
Publisher: Prince of Songkla University, Pattani Campus
Abstract: Estimating volatility of stock returns as accurate as possible is needed since the importance of volatility in theory and practice. Aim of the study is to show the process of assessing the performance of volatility model. This study presented GARCH(1,1) model for estimating volatility of daily returns of some stock prices of Indonesia over the period from 12 July 2007 to 29 September 2015. Parameters of the model were estimated by Maximum Likelihood Estimation. The fitted volatility series were estimated by using natural cubic spline in order to study the behavior of the volatility over the period. The performance of how good the GARCH(1,1) can capture the volatility is assessed by using Monte Carlo Simulation. The result shows that the GARCH(1,1) gives fitted volatility which is close to assumed volatility. This indicates that the GARCH(1,1) is able to capture the volatility quite well.
Abstract(Thai): การประมาณความผันผวนของผลตอบแทนราคาหุ้นให้แม่นตรงมากเท่าที่จะทำได้เป็นสิ่งจำเป็น เพราะความผันผวนมีความสำคัญทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอตัวแบบ GARCH(1,1) สำหรับการประมาณความผันผวนของผลตอบแทนรายวันของราคาหุ้นบางตัวของอินโดนีเซีย ในช่วงเวลาจาก 12 กรกฎาคม 2550 ถึง 29 กันยายน 2558 ค่าพารามิเตอร์ของตัวแบบถูกประมาณโดยการประมาณภาวะน่าจะเป็นสูงสุด ลำดับความผันผวนถูกกระชับด้วยการประมาณค่าในช่วงด้วยเส้นโค้งกำลังสามอย่างธรรมชาติเพื่อศึกษาพฤติกรรมของความผันผวนในช่วงเวลานั้น จากนั้นทำการประเมินความสามารถในการจับความผันผวนของตัวแบบ GARCH(1,1) โดยใช้การจำลองมอนติคาร์โล ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า GARCH(1,1) สามารถกระชับความผันผวนได้ใกล้เคียงกับความผันผวนที่กำหนดขึ้น นั่นแสดงว่าตัวแบบ GARCH(1,1) สามารถจับความผันผวนได้ค่อนข้างดี
Description: Thesis (M.Sc.(Applied Mathematics))--Prince of Songkla University, 2015
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17445
Appears in Collections:746 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1702.pdf4.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons