Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17385
Title: การศึกษาเชิงเปรียบเทียบปัจจัยความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศด้านสารสนเทศอาหารไทย เพื่อการท่องเที่ยวประเทศไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
Other Titles: A Comparative Factor Study of International Tourists' Needs in Thai Food Information for Travelling Thailand on Mobile Devices
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษาเชิงเปรียบเทียบปัจจัยความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศด้านสารสนเทศอาหารไทย เพื่อการท่องเที่ยวประเทศไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
Authors: น้ำทิพย์ ตระกูลเมฆี
Faculty of Engineering Management of Information Technology
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Keywords: นักท่องเที่ยวต่างชาติ;การท่องเที่ยว;อาหารไทย
Issue Date: 2558
Abstract: Tourism industry is main revenue in Thailand and the travel period and re-travel are the important factors of sustainable tourism. Several foreign tourists face some problems about their meals during travelling in Thailand today because of religions, beliefs, behavioral eating, and healthy concerns. These problems have the impacts on the shorten travel period and re-travel of foreign tourists who have the food allergy. The appropriate food information depended on behavioral eating on mobile devices is a possible solving method that can reduces these problems. Therefore, this study aims to investigate the factors of information needs and intention to use in the context of Thai food information on mobile devices. The study employs convenience sampling using questionnaire to collect data from 497 foreign tourists at Suvarnabhumi Airport in Thailand. The descriptive statistics and regression are used to analyze data in quantitative approach. The results reveal that the technological experience influences on needs' information on mobile devices, while Thai food experience is not a factor on foreign tourists' need of Thai food information on mobile devices. In addition, there are three motivation factors (health concern, learning desire, and sensory appeal) to influence on needs of Thai food information on mobile devices. For excitement factor, the result reports it is not a factor of foreign tourists' needs in Thai food mobile-based information. Finally, the perceived factors (perceived ease-of-use, perceived compatibility, and perceived mobility) and quality factors (information quality, interactive quality, and presentation quality) are the factors of tourists' intention to use local-food information services through their mobile devices.
Abstract(Thai): อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในรายได้หลักของประเทศไทย ซึ่งระยะเวลาการ ท่องเที่ยวและการกลับมาท่องเที่ยวใหม่อีกครั้งของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเป็นตัวแปรหลักที่ สําคัญที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แต่ทว่าปัจจุบันพบว่านักท่องเที่ยวชาว ต่างประเทศจํานวนไม่น้อยประสบปัญหาด้านการรับประทานอาหารไทยระหว่างการท่องเที่ยวใน ประเทศ อันเนื่องจากศาสนา ความเชื่อ พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และความกังวลค้าน สุขภาพ ส่งผลทําให้ระยะเวลาการท่องเที่ยวในประเทศไทยสั้นลง และนักท่องเที่ยวบางส่วนที่เกิด ปัญหาภูมิแพ้อาหารบางชนิดไม่กลับมาท่องเที่ยวประเทศไทยอีก ซึ่งการให้สารสนเทศอาหารไทยที่ เหมาะสมกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารบนอุปกรณ์เคลื่อนที่น่าจะช่วยลดปัญหาดังกล่าว ดังนั้น งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการสารสนเทศอาหารไทยบน อุปกรณ์เคลื่อนที่ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากนักท่องเที่ยว ต่างชาติจํานวน 497 คน ณ สนามบินสุวรรณภูมิ และนําข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยสถิติเชิง พรรณนา และวิเคราะห์การถดถอย พบว่า ปัจจัยประสบการณ์ด้านเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อความ ต้องการใช้สารสนเทศอาหารไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ขณะที่ประสบการณ์ด้านอาหารไทย ไม่มีผลต่อความต้องการสารสนเทศอาหาร ไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ส่วนปัจจัยด้านแรงจูงใจ พบว่า สามปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการสารสนเทศอาหารไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ได้แก่ ปัจจัยการกังวล ด้านสุขภาพ ปัจจัยความต้องการเรียนรู้ และปัจจัยการดึงดูดด้านประสาทสัมผัส ส่วนปัจจัยแรงจูงใจ ด้านการความต้องการตื่นเต้นจากการใช้งานไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อความต้องการใช้งานสารสนเทศ อาหารไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้ สารสนเทศอาหารไทยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ทั้งในด้านการรับรู้ (การรับรู้ถึงการใช้งานง่าย การรับรู้ ถึงการเข้ากันได้ และการรับรู้ถึงการเคลื่อนย้ายสะดวก) และด้านคุณภาพ (คุณภาพของสารสนเทศ คุณภาพของการโต้ตอบ และคุณภาพของการนําเสนอ)
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17385
Appears in Collections:229 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
413351-abstract.pdf313.44 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.