Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17377
Title: การเพิ่มประสิทธิภาพการเร่งเชิงแสงของซิลเวอร์ฟอสเฟตด้วยซิลเวอร์โบรไมด์ภายใต้แสงช่วงตามองเห็น
Other Titles: Photocatalytic enhancement of Ag3PO4 by AgBr under visible light
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเพิ่มประสิทธิภาพการเร่งเชิงแสงของซิลเวอร์ฟอสเฟตด้วยซิลเวอร์โบรไมด์ภายใต้แสงช่วงตามองเห็น
Authors: พงศธร อมรพิทักษ์สุข
Faculty of Science (Biochemistry)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีวเคมี
Keywords: การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง;ซิลเวอร์ฟอสเฟต;สีย้อมและการย้อมสี
Issue Date: 2560
Abstract: AgBr/Ag3PO4 was synthesized by a one-pot synthesis through a precipitation method. The pH of precipitating agent were prepared by adjusting the amount of H3PO4 in the Na3PO4 solution. Ag3PO4 powders prepared from the precipitation solution at pH 6 has a well multi- faced structure and showed the best activity for decolorizing methylene blue and rhodamine B solutions under irradiation by visible light. These Ag3PO4, powders were further modified by the addition of KBr solution in a reaction solution to obtain AgBr/Ag3PO4 powders and these photocatalysts can decolorize the anionic dyes as reactive orange and methyl orange. The photocatalyst prepared from the precipitation solution with a KBr concentration of 0.005 mole showed the best photocatalytic degradation activity for all of dyes tested under visible light. After photocatalysis, the dye did not completely degrade to CO2 and some residual organic compounds were still presented in the treated solution. Overall ecotoxicity of the degraded products in the treated dye solutions were showed to be much lower than the corresponding untreated dye solutions using Chlorella vulgaris as a bioindicator.
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้ได้ทำการเตรียม AgBr/Ag3PO4, ด้วยวิธี one-pot synthesis ผ่านกระบวนการตกตะกอน โดย ทำการปรับค่า pH ของตัวตกตะกอนด้วยการเติมกรด H3PO4 ลงในสารละลาย Na3PO4, อนุภาค Ag3PO4, ที่ เตรียมจากสารละลายของตัวตกตะกอนที่มี pH เท่ากับ 6 มีโครงสร้างที่แสดงหน้าหลายระนาบและมี ประสิทธิภาพในการสลายสีย้อมเมทิลีนบูลและโรดามีนบีดีที่สุดภายใต้การฉายแสงในช่วงตามองเห็น อนุภาค Ag3PO4 ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวได้ทำการดัดแปลงให้เป็น AgBr/Ag3PO4, โดยการเติม KBr ลงในระบบ ตัวเร่ง เชิงแสงดังกล่าวสามารถสลายสีย้อมประจุลบคือ เมทิลออร์เรนและรีแอ็กทีฟออร์เรน ตัวเร่งเชิงแสงที่เตรียม จากสารละลายที่มีความเข้มข้นของ KBr เท่ากับ 0.005 โมล มีความสามารถในการสลายสีย้อมทั้ง 4 ชนิด ดีที่สุด สีย้อมเมื่อผ่านกระบวนการเร่งเชิงแสงพบว่าสีย้อมไม่ได้สลายตัวเป็น CO2 ทั้งหมด แต่สีย้อมสลายตัว เป็นสารอินทรีย์ตกค้างในสารละลาย ผลการทดสอบความเป็นพิษต่อระบบนิเวศของสารอินทรีย์ที่หลงเหลือ ดังกล่าวพบว่าสารละลายสีย้อมที่ผ่านการบำบัดด้วยปฏิกิริยาเร่งเชิงแสงมีความเป็นพิษต่อระบบนิเวศน้อย กว่าสารละลายสีย้อมตั้งต้นเมื่อใช้สาหร่าย Chlorella vulgaris เป็นดัชนีทางชีวภาพ
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17377
Appears in Collections:328 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
413346-abstract.pdf61.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.