Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนัฐฌพงษ์ คงแก้ว-
dc.date.accessioned2022-01-21T07:22:51Z-
dc.date.available2022-01-21T07:22:51Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17375-
dc.description.abstractNowadays oil palm industry is one of several industries, which is important intributing Thailand's economy, and almost all of plantations are located in theof country. For the supply chain of oil palm industry, it covers four main sections includingm seeding, palm plantations, distribution centers (called Lan Tay), and crumilling plants. Based on the data from previous research, it indicated that the cost ofilizer plays the highest cost for the upstream supply chain (including palmpalm plantations). This cost is associated with logistics cost of fertilizer transportation startingfrom fertilizer factories or warehouses (distributed by their agents) to oil palm smallholderfarmers.This research was conducted to study and develop the oil palm smallholderfarmers' collaboration in fertilizer management, covering procurement and purchasing,inventory management, and material shipping and distribution, in order to meet thedemands of palm plantations and to reduce supply chain costs for the oil palm industry inSura Thani province. The transshipment model incorporated with the set covering problemand the Premium Solver Platform software were used to find the optimal model for thelder farmers' collaboration in fertilizer management. According toing, it was divided into two stages: The first stage was to determine theishing the collaborative group of smallholder farmers to manage anr its own members under the limitation of distance. The second stageof the first stage to analyze the total logistics costin fertilizer ithroughout the supply chain. The result showed that the optimal group for the oil palmlholder farmers' collaboration must be established in a total of 50 groudistribution to their own members within 10 kilometers. Consequently,logistics cost in supply chain was reduced from 153,172,432.54 baht per year (estimated bye current model) to 88,314,504.61 baht per year, or decreased by 42.34%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectปาล์มน้ำมันen_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการรวมกลุ่มในการจัดการปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน กรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ "การศึกษาแนวทางการรวมกลุ่มในการจัดการปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน กรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Industrial Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thปัจจุบันอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยมีพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันส่วนใหญ่ของประเทศอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ สำหรับโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันนั้น จะคลอบคลุมตั้งแต่แหล่งเพาะพันธุ์ปาล์มน้ำมัน สวนปาล์ม ลานเทหรือผู้รวบรวม และโรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ จากข้อมูลด้านการเพาะปลูกในงานวิจัยก่อนหน้านี้ ชี้ให้เห็นว่าต้นทุนหลักที่เกิดขึ้นในส่วนต้นน้ำ(ตั้งแต่แหล่งเพาะพันธุ์ปาล์มน้ำมันจนถึงสวนปาล์มน้ำมัน คือ ปุ๊ย ซึ่งเป็นต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนด้านการขนส่งโลจิสติกส์ตั้งแต่โรงานหรือคลังสินค้าปุย ตัวแทนจำหน่าย จนถึงเกษตรกรรายย่อยงานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมในการจัดการกับกิจกรรมด้านการจัดการปุ๋ยที่คลอบคลุมทั้งทางด้านการสั่งซื้อและจัดหา ด้านการจัดการสินค้าคงคลัง และต้านการจัดส่งและการกระจ่ายวัสดุ ไปยั่งแหล่งผลิตปาล์มน้ำมันที่เพียงพอต่อความต้องการ เพื่อลดต้นทุนการขนส่งปุ๋ยภายในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้ตัวแบบปัญหาการคลอบคลุมเซต(Set Covering Problem) ตัวแบบการขนส่งแบบส่งต่อ (Transshipment Model) และซอฟต์แวร์พรี่เมี่ยมโชลเวอร์ แพลตฟอร์ม (Premium Solver Platform) ซึ่งแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ชั้นที่ 1 จะวิเคราะห์หาตำแหน่งในการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรในการกระจายปุ๋ยภายใต้ระยะทางที่กำหนดขึ้น โดยที่ทุกตำบลในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีโอกาสในการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรเท่ากัน และขั้นที่ 2 จะนำผลที่ได้จากชั้นตอนที่ 1 มาวิเคราะห์ต้นทุนรวมต้านโลจิสติกส์ในการจัดการปุ๋ยตลอดทั้งโซ่อุปทาน ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรจำนวน 50 แห่ง ในการกระจายปุ๊ยภายใต้ระยะทาง 10 กิโลเมตร สามารถลดต้นทุนรวมด้านโลจิสติกส์จากรูปแบบการจัดการปุ๋ยภายในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในปัจจุบัน 153,172,432.54 บาทต่อปี ลงเหลือ 88,3 14,504.61 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละที่ลดลง 42.34 เมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนรวมด้านโลจิสติกส์ในปัจจุบันen_US
Appears in Collections:228 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
413383-abstract.pdf155.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.