กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17371
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปรารถนา หลีกภัย-
dc.date.accessioned2022-01-21T07:09:24Z-
dc.date.available2022-01-21T07:09:24Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17371-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to examine the level of innovativeness in food business in southern Thailand. The study also aims to identify factors that impact upon the innovativeness and thus to propose guidelines for the corresponding development. In this study, the impact of three factors on innovativeness in food business is investigated. These factors are (1) entrepreneurial orientation, (2) learning orientation and market orientation. Entrepreneurial orientation includes two minor factors, which are risk taking and proactiveness. Market orientation includes three minor factors, which are customer orientation, competitor orientation, and interfunctional coordination Learning orientation includes three minor factors, which are commitment to learning, shared vision, and open-mindedness. This study employed a mixed methods approach. The population for the quantitative method were 328 food businesses in southern Thailand as shown on the database of the Ministry of Commerce of Thailand. The sample were 250 food businesses and the simple random sampling is used. Collecting data was conducted by mailed questionnaires. A total of 78 useable responses were received reaching the response rate of 31.20%. For the qualitative method, purposive sampling is used. Data were collected through structured in-depth interviews with 8 participants being either executives or public university professors. The findings reveal high level of innovativeness. The findings also indicate that entrepreneurial orientation significantly influences market orientation and learning orientation. There has been found the significant influences of entrepreneurial orientation, market orientation and learning orientation on innovativeness. Additionally, innovativeness significantly influences organizational performance. The study suggests guidelines for the development of innovativeness in food business; that is business leaders should support internal change in organizations; and there is a need for businesses to provide sufficient resources for their staff, guide them through their work responsibilities, promote continual learning and create incentives for innovation among them. Placing the emphasis on customers' needs should also be considered important.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหาร นวัตกรรมทางเทคโนโลยีen_US
dc.titleความสามารถทางนวัตกรรม : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeInnovativeness : A Case Study of Food Industry in Southern Thailanden_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ความสามารถทางนวัตกรรม : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Commerce and Management-
dc.contributor.departmentคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ-
dc.description.abstract-thการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสามารถทางนวัตกรรมของธุรกิจใน อุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถทางนวัตกรรม ของธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทย และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนา ความสามารถทางนวัตกรรมของธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถทางนวัตกรรมของธุรกิจอาหาร ประกอบด้วย ปัจจัยการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ ปัจจัยการมุ่งเน้นการเรียนรู้ และปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด โดยที่ ปัจจัยการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ ประกอบด้วย 2 ปัจจัยย่อย คือ ความกล้าเสี่ยง และการ ดําเนินงานเชิงรุก ปัจจัยการมุ่งเน้นการเรียนรู้ ประกอบด้วย 3 ปัจจัยย่อย คือ ความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ วิสัยทัศน์ร่วม และการเปิดใจรับสิ่งใหม่ ปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด ประกอบด้วย 3 ปัจจัยย่อย คือ การ มุ่งเน้นลูกค้า การมุ่งเน้นคู่แข่งขัน และการประสานงานภายในองค์กร การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงผสมผสาน ประชากรของการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ธุรกิจใน อุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ของประเทศไทยที่รายชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ จํานวน 328 แห่ง กลุ่มตัวอย่างมีจํานวน 250 แห่ง โดยใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์ ได้รับแบบสอบถามส่งคืนจํานวน 78 ฉบับ คิดเป็นอัตราการตอบกลับ ร้อยละ 31.20 การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จํานวน 8 คน เก็บข้อมูลโดย การสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้างจากผู้บริหารของธุรกิจและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ผลการศึกษา พบว่า ในภาพรวมของธุรกิจอาหารในภาคใต้ของประเทศไทยมีความสามารถทาง นวัตกรรมองค์กรในระดับมาก จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ปัจจัยการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ มีอิทธิพลทางตรงทิศทางบวกต่อปัจจัยการมุ่งเน้นตลาดและปัจจัยการมุ่งเน้นการเรียนรู้ อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ปัจจัยการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ ปัจจัยการมุ่งเน้นตลาดและปัจจัยการมุ่งเน้นการ เรียนรู้ มีอิทธิพลทางตรงทิศทางบวกต่อความสามารถทางนวัตกรรมองค์กร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที่ความสามารถทางนวัตกรรมองค์กร มีอิทธิพลทางตรงทิศทางบวกต่อปัจจัยผลการดําเนินงาน องค์กร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แนวทางการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมของธุรกิจอาหารในภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้ จากการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจต้องสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร ธุรกิจต้องจัดให้มี ทรัพยากรที่เพียงพอในการทํางาน ส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้เกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นการสร้างนวัตกรรม รวมถึงมุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของ ลูกค้en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:942 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
413334.pdf591.92 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น