Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17345
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วุฒิชัย เนียมเทศ | - |
dc.contributor.author | วีซานา อับดุลเลาะ | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-07T09:12:45Z | - |
dc.date.available | 2021-12-07T09:12:45Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17345 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา), 2564 | en_US |
dc.description.abstract | This research aimed 1) to study components of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces, 2) to create a model of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces, and 3) to evaluate a model of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces. The methodology of this research was mixed method with multiple steps. The qualitative research was conducted by examining the documents, concepts, theories and related studies and focus group discussion with 10 experts and 11 specialists. The quantitative research was conducted by rating scale questionnaire 400 samples. The data were analyzed with confirmatory factor analysis: CFA. The findings revealed that 1. The components of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces obtained from synthesizing the documents, concepts, theories and related research studies contained 7 components. According to the focus group with the experts, it was confirmed that there were 7 components and should be added up another component which was public supervision team. 2. The model (draft) of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces, derived from the confirmatory factor analysis for 8 components, prioritized by weight of each component was teacher quality development, educational assessment, learning management in the educational school, learning environment, courses of the educational school, educational budget, cooperation with the communities and the public supervision team. 3. The model of school administration for promoting 21st century learning skills of primary students in three southern border provinces, obtained from the evaluation of the specialists, was found that the model was correct, inclusive, suitable, possible and beneficial, including 8 components and 38 guidelines. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การบริหารสถานศึกษา | en_US |
dc.subject | โรงเรียนระดับประถมศึกษา สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.subject | ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 | - |
dc.title | รูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Model of School Administration for Promoting 21st Century Learning Skills of Primary Students in Three Southern Border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Educational Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) สร้างรูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) ประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระบวนการวิจัยเป็นแบบผสมวิธีประเภทหลายขั้นตอน ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 ท่าน ประชุมผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 11 ท่านดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้มาจากการสังเคราะห์เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน 7 องค์ประกอบ และจากการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิได้ยืนยันองค์ประกอบทั้ง 7 องค์ประกอบและเพิ่มเติมอีกหนึ่งองค์ประกอบคือ ทีมนิเทศจิตอาสา 2. รูปแบบ (ฉบับร่าง) การบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ได้มาจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) มีจำนวน 8 องค์ประกอบ โดยเรียงลำดับตามน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบ ดังนี้ การพัฒนาคุณภาพของครู การประเมินผลทางการเรียน การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษา งบประมาณเพื่อการศึกษา ความร่วมมือของชุมชน ทีมนิเทศจิตอาสา 3. รูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้มาจากผู้เชี่ยวชาญ ได้ประเมินและพบว่า รูปแบบมีความถูกต้องครอบคลุม มีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ และมีประโยชน์ มีจำนวน 8 องค์ประกอบ และ 38 แนวทาง | en_US |
Appears in Collections: | 260 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6020130008 | 9.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License