Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17319
Title: การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีน กรณีศึกษา: โรงงานผลิตถุงมือยาง จ. สงขลา
Other Titles: Production process improvement by using lean concept: The Case of Gloves Manufacturing in Songkhla
Authors: ศรัณยู กาญจนสุวรรณ
จุฑาภรณ์ แก้วสุด
Faculty of Management Sciences (Business Administration)
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ
Keywords: แนวคิดลีน;5W+1H ECRS;แผนผังแสดงสาเหตุและผล;แผนผังสายธารคุณค่า
Issue Date: 2019
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The objective of this research is to study the problems, obstacles and improve the production process using lean concepts by focusing on eliminating waste and reducing lead time of the production process. The research takes the first step with studying workflow of each process in order to create a value stream mapping of the current situation. Next, the researcher analyze the process in each activity to identify waste and determine solution by using cause and effect diagram , the 5W+1H (What, Why, Where, When, Who, How) and ECRS techniques (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify). After the improvement, the result of this research found that the number of manufacturing process is decreased by 17.78 % and lead time is reduced by 9.69%.
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นหาสภาพปัญหาพร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตถุงมือยางธรรมชาติ ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีน โดยมีเป้าหมายเพื่อการลดกิจกรรมในกระบวนการผลิต และลดระยะเวลารวมของกระบวนการผลิตของบริษัทกรณีศึกษา โดยการศึกษาเริ่มจากศึกษาข้อมูลกระบวนการดำเนินงาน เพื่อจัดทำแผนผังสายธารคุณค่าสถานการณ์ปัจจุบัน จากนั้นจึงวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมเพื่อระบุความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตและทำการกำหนดแนวทางการแก้ไข โดยใช้แผนผังแสดงสาเหตุและผล หลักการ 5W+1H (What, Why, Where, When, Who, How) และเทคนิค ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) จากนั้นได้จัดทำแผนผังสายธารคุณค่าในสถานการณ์หลังการปรับปรุง เพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างก่อนและหลังปรับปรุงภายใต้แนวคิดลีน ซึ่งพบว่าจำนวนกิจกรรมการผลิตลดลง คิดเป็นร้อยละ 17.78 และระยะเวลากระบวนการผลิต ลดลง คิดเป็นร้อยละ 9.69
Description: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, 2562
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17319
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons