Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17271
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประจวบ ทองศรี | - |
dc.contributor.author | นูรีสา สะรี | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-31T04:11:48Z | - |
dc.date.available | 2021-08-31T04:11:48Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17271 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(การบริหารการพัฒนาสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากร สัตว์น้ำโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล และเพื่อเสนอแนวทางการจัดการ ทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมชน บริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้มีจำนวน 34 คน ใช้วิธีการศึกษาภาคสนาม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) นำมาวิเคราะห์ ทำความเข้าใจกับ เนื้อหา จัดหมวดหมู่ และสังเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. การจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมขน บริเวณขายฝั่งปากบารา อำเภอละ จังหวัดสตูล ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบที่สำคัญ คือ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยนำเข้า ได้แก่ 1) สภาพทั่วไปของทรัพยากรชายฝั่งในชุมขน ซึ่งประกอบไปด้วย ทรัพยากรป่าชายเลน ทรัพยากร แหล่งหญ้าทะเล ทรัพยากรแนวปะการัง และทรัพยากรสัตว์น้ำ 2 กฎกติกาชุมชนในการใช้ประโยชน์ ร่วมกันจากทรัพยากรในชุมชน ซึ่งประกอบไปด้วย กฎกติกาในการใช้ประโยชน์ร่วมกันบริเวณซั้งกอ กติกาของวิสาหกิจชุมชนร้านคนจับปลา และกฎกติกาธนาคารปูม้า และ 3) การบริหารจัดการ ซึ่ง ประกอบไปด้วย ด้านคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการ องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการบริหาร จัดการ กระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการวางแผ่น การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และ การมีส่วนร่วมในการการติดตามผล และองค์ประกอบที่ 3 ผลผลิตหรือผลลัพธ์ ได้แก่ กิจกรรม ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งปากบารา ซึ่งประกอบไปด้วย กิจกรรมการวางซั้งกอ (บ้านปลา) วิสาหกิจชุมชนร้านคนจับปลา ธนาคารปูม้า และกิจกรรมการปล่อย พันธุ์สัตว์น้ำ 2. แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมชน บริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีดังนี้ 1) การส่งเสริมการให้ความรู้ และสร้างความตระหนักในการการ จัดการทรัพยากรสัตว์น้ำในชุมชน 2) การส่งเสริมการรวมกลุ่มอนุรักษ์ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรในชุมชน 3) การส่งเสริมนักอนุรักษ์รุ่นใหม่ ด้วยสร้างจิตสำนึกให้ เยาวชนมีใจรักและหวงแหนทรัพยากรในชุมชน 4) การเฝ้าระวัง การอนุรักษ์ และการพื้นฟู ทรัพยากร ในชุมชน และ 5) ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ในงานอนุรักษ์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | en_US |
dc.subject | การจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ | en_US |
dc.title | การจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล | en_US |
dc.title.alternative | Community-based Aquatic Animal Resource Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Humanities and Social Sciences (Social Sciences) | - |
dc.contributor.department | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | The purposes of this research were to find out and to propose the guidelines of the Community-based Aquatic Animal Resource Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province affecting for sustainable of the resources management in this community. This research uses qualitative method, data collection through the selected sample 34 volunteers were included as a sample by studying for key informant documents and implicated researches, In-depth interview, and focus group discussion. This study has been taken for analyzing, understanding to the content, classification and synthesis. The results of the study were as follows: 1. Management of the Community-based Aquatic Animal Resource Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province, Thailand consisted of 3 factors namely; 1 an input factor were that 1) the generality of coastal resource in community: mangrove forest resource, sea grass resource, coral reef resource, and aquatic animals resource. 2) the rules of sharing resources in the community : the rules of sharing resources in Sang-Kor (fish aggregative device (FADs)), the rules of small and micro community enterprise of fisher folk and the rules of blue swimming crab bank. 3) the community and resources management consisted of Man, Money, Material and management. 2 The management process of community participation in management of coastal resources: participation in plan, participation in implementation, participation in benefit sharing and participation in evalution. 3) outputs/outcomes were as activities about aquatic animals resource management in Pakbara coastal area by Pak Nam community, La-ngu district, Satun province were that making fish aggregative device (FADs) activities, ,small and micro community enterprise of fisher folk, blue swimming crab bank and release of aquatic animals activities 2. The guidelines for the Community-based Aquatic Animal Resource Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province were: 1) supporting implicated knowledge and instilling awareness for aquatic animals resource in the community, 2) supporting people group in the community to join for protecting and participating the resources management, 3) supporting new conservator generations by creating awareness to persons who was extremely fond of nature and cherishing the resources in the community, 4) watch, protection and conservation, and rehabilitation the resources in the community, and 5) supporting folk wisdom to be existence in the community. This study helps verify the working processes of aquatic animals resource management in Pakbara coastal area by Pak Nam community, La-ngu district, Satun province to become more efficient. | en_US |
Appears in Collections: | 427 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TC1624.pdf | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.