Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบง ชัยเจริญวัฒนะ-
dc.contributor.authorรอฮานี นิลพัน-
dc.date.accessioned2021-08-02T03:33:19Z-
dc.date.available2021-08-02T03:33:19Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17206-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563en_US
dc.description.abstractSubdistrict administrative organizations need to understand the factors towards the intention to pay the tax of the Local Maintenance taxpayers, Where the organizations can plan and operate the taxation based on, Under the law with fairness and effectiveness. The objectives in the research include 1) To examine the factors towards the intention to pay the tax of the local maintenance taxpayers in Sadawa Subdistrict 2) To analyze the problems and obstacles in paying the Local Maintenance tax in Sadawa Subdistrict and 3) To demonstrate the solutions of Local Maintenance taxpayers with overdue payment of Sadawa Subdistrict. The research is quantitative research which utilized questionnaires as the data-collecting tool. The group samples consisted of 293 Local Maintenance taxpayers with overdue payment of Sadawa Subdistrict Administration Organization, Yarang District, Pattani. The data was then investigated by employing the Descriptive Statistics, including Frequency, Percentage, Mean and Standard Deviation, and Applying the Inferential Statistics by using Multiple Regression Analysis. The study found that social norm, attitude towards taxation, and taxation ability positively influenced the intention of the Local Maintenance taxpayers with overdue payment of Sadawa Subdistrict Administration Organization, Yarang District, Pattani with statistical significance, which led the taxpayers to punctually pay the tax in 2020. Among the influences, social norm possessed the greatest impact. Furthermore, the citizen reported that the possible solutions which included holding a program promoting tax payers’ responsibilities, publicizing the information about the law of taxation and the procedure of tax payments in various channels, such as at the village news distribution tower, consisting of social media, websites, and Facebook, SMS, etc. Moreover, the Local Maintenance Tax should be used to thoroughly develop the community, Improve service provision by facilitating tax payers It should also provide a moratorium for people with low incomes, without fines. And there should be serious measures to condone the overdue tax.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectพฤติกรรมตามแผนen_US
dc.subjectปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการชำระภาษีen_US
dc.subjectผู้ค้างชำระภาษีen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวาen_US
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการชำระภาษีบำรุงท้องที่ของประชาชนในตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีen_US
dc.title.alternativeA Study of Factors Affecting the Intentions to Pay Local Maintenance Tax Among Citizens in Sadawa Subdistrict,Yarang District, Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thองค์การบริหารส่วนตาบลมีความจาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการชาระภาษีบารุงท้องที่ของประชาชนชน เพื่อให้หน่วยงานสามารถวางแผน และปฏิบัติการจัดเก็บภาษีให้อยู่ภายใต้อานาจของกฎหมายได้อย่างเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการชาระภาษีบารุงท้องที่ของประชาชนตาบลสะดาวา 2) วิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคในการชาระภาษีบารุงท้องที่ของประชาชนในตาบลสะดาวา 3) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการค้างชาระภาษีบารุงท้องที่ค้างชาระของประชาชนในพื้นที่การปกครองขององค์การบริหารส่วนตาบลสะดาวา งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้ค้างชาระภาษีบารุงท้องที่ในเขตพื้นที่ศึกษา จานวน 293 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า บรรทัดฐานทางสังคม ทัศนคติต่อการชาระภาษี และความสามารถในการชาระภาษี ส่งผลทางบวกต่อความตั้งใจในการชาระภาษีบารุงท้องที่ของประชาชนในตาบลสะดาวา อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติและมีความคิดที่จะชาระภาษีในปี 2563 ให้ตรงเวลา โดยบรรทัดฐานทางสังคมส่งผลมากที่สุด นอกจากนี้ประชาชนได้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรจะมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนอยากเสียภาษี ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายภาษี ขั้นตอนการชาระภาษีในหลายๆ ช่องทาง เช่น ตามหอกระจายข่าวประจาหมู่บ้าน สื่อ Social, Website, Facebook, SMS เป็นต้น นอกจากนั้นควรนาเงินค่าภาษีบารุงท้องที่ไปพัฒนาหมู่บ้านให้ทั่วถึง ปรับปรุงการให้บริการโดยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้มาชาระภาษี รวมถึงควรให้มีการพักชาระหนี้ให้แก่ผู้ที่มีรายได้น้อยโดยไม่มีค่าปรับ และควรมีมาตรการเอาผิดกับผู้ค้างชาระภาษีอย่างจริงจังen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NCAM-บทความ.pdf699.07 kBAdobe PDFView/Open
6110521539.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons