Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบง ชัยเจริญวัฒนะ-
dc.contributor.authorกุญชลี วรรณโร-
dc.date.accessioned2021-08-02T02:59:00Z-
dc.date.available2021-08-02T02:59:00Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17200-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563en_US
dc.description.abstractThe research aimed to 1) studies the extent of opinion toward the current roles of local governing of the legalized sub-district headman, village headman, and assistant of village headman 2) explore the current roles of local governing of the legalized sub-district headman, village headman, and assistant of village headman which should be legally provision 3) and to observe the extent of opinion toward the role of local governing of the sub-district headman, village headman, and assistant of village headman to cooperate with the mayor, the local administrative organization, and the public in the area and support from the department of provincial administration 4) to identify the approach for enhancing the working efficiency of the sub-district headman, village headman, and assistant of the village headman. The samples were 183 sub-district headmen, village headmen, and assistants of village headman in Khuanniang district, Songkhla province. Data were collected in the form of a questionnaire survey then analyzed statistically by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, and F-Test with One-Way ANOVA. The study showed that the samples have reflected a high level of opinion toward the current roles of legitimate local governing. The in-depth study found the samples have strongly reflected on the Urgent Policies followed by Civil Defense, Governing and Order Maintenance, Registrations, and Conservation of Natural Resources and the Environment. However, Career Development and Extension were the least concerned. On the other hand, the samples agreed to maintain all aspects of the legal provision. They have shown a high level of perspective toward the role of local governing of the sub-district headman, village headman, and assistant of the village headman, especially on the role of the cooperation with the citizens in the area. Followed by the role of the mayor, the role of working with the local governing, and lastly, aids from the department of provincial administration. Apart from these, the samples had suggested the rise of compensation and the increase in welfare. They also suggested that the council of the sub-district headman, where they can access directly to the budget, should be established. Narcotics control and last should offer a different training programs.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectบทบาทการปกครองท้องที่en_US
dc.subjectกำนันen_US
dc.subjectผู้ใหญ่บ้านen_US
dc.subjectผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านen_US
dc.titleบทบาทการปกครองท้องที่ในปัจจุบัน : การศึกษาความคิดเห็นของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในพื้นที่อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Current Roles of Local Governing: Examining the Perspectives of Subdistrict Headman, Village Headman and Assistant Village Headman in Khuanniang District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นต่อบทบาทการปกครองท้องที่ในปัจจุบันของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ที่สามารถปฏิบัติได้จริงตามกฎหมาย 2) เพื่อศึกษาบทบาทการปกครองท้องที่ในปัจจุบันของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านที่ควรมีบทบัญญัติไว้ในกฎหมาย 3) เพื่อศึกษาระดับ ความคิดเห็นต่อบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในการทำงานกับนายอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชนในพื้นที่ และความต้องการสนับสนุนจากกรมการปกครอง 4) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนา สนับสนุนการปฏิบัติงานของตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประชากรที่ศึกษา คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จำนวน 183 คน โดยผู้วิจัย ทำการเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าที (t-Test) และทดสอบค่าเอฟ (F-Test) ด้วยการวิเคราะห์ ความแปรปรวน (One-Way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นต่อบทบาทการปกครองท้องที่ในปัจจุบัน ที่สามารถปฏิบัติได้จริงตามกฎหมาย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านนโยบายเร่งด่วน รองลงมา คือ ด้านป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ด้านการปกครองและรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านทะเบียนต่าง ๆ และด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยลำดับสุดท้าย คือ ด้านการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และควรมีบทบัญญัติไว้ในกฎหมายต่อไปทุกด้าน และมีระดับความคิดเห็นต่อบทบาทการทำงานของของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบทบาทการทำงานกับประชาชนในพื้นที่ รองลงมา คือ บทบาทการทำงานกับนายอำเภอ บทบาทการทำงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยลำดับสุดท้าย คือ ความต้องการสนับสนุน จากกรมการปกครอง ข้อเสนอแนะ พบว่า อันดับหนึ่ง การพิจารณาเรื่องเพิ่มค่าตอบแทน รองลงมา คือ ต้องการให้ เพิ่มสวัสดิการด้านต่างๆ ควรให้มีสภาของกำนันและให้มีงบประมาณโดยตรง เรื่องดูแลการปราบปรามยาเสพติด และสุดท้าย ควรให้มีการอบรมหลักสูตรต่างๆen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความบทบาทการปกครองฯ (6010521546).pdf316.76 kBAdobe PDFView/Open
6010521546.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons