Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญศิริ เอกจิตต์-
dc.contributor.authorฮุสนา โรมินทร์-
dc.date.accessioned2021-07-13T09:02:14Z-
dc.date.available2021-07-13T09:02:14Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17144-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม), 2561en_US
dc.description.abstractInfectious waste management (IWM) in clinics during handling to disposal of infectious waste is significant health hazards and can cause environmental pollution. Regarding the problem of infectious waste management, the personnel who handle the infectious waste is the significant concern that has a strong influence in waste management. Therefore, this study is aimed to assess Knowledge, Attitudes, and Practices (KAP) in handling infectious waste among personnel in clinics located in Phuket province. A simple random sampling was used to identify 344 respondents by face-to-face interview with healthcare workers from 172 clinics in Phuket province. The results showed that most of respondents were female (87%), aged 20-29 years old (37%), graduated in Bachelor's degree (56%), job position medical assistants/nurses (59%) with more than 5 years working experience (52%), had the experience in IWM (73%), and participated training in IWM (51%). Clinical waste management information, it was found that the majority of the clinics were medical clinic (44%), the main categories were found to be infectious needle (91%). Most of respondents (36%) had transported the infectious waste to the community's bin and mixed with municipal solid waste. The overall scores for knowledge, attitudes, and practices of respondents regarding IWM are in a high level (89.5%, 91.9%, and 92.2%, respectively). The statistical analysis showed that there was the difference between personnel practice in IWM and personal factors, except the experience in IWM and years of working experience (p<0.05). Personnel practice were positively correlated with knowledge and attitude in IWM. It is suggested that government agency should has a well-planned collection and transfer process of infectious wastes in order to reduce the risk of environmental pollution and public health.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectการจัดการขยะมูลฝอยen_US
dc.titleการศึกษาเรื่อง ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรในคลินิก จังหวัดภูเก็ตen_US
dc.title.alternativeA Study of Knowledge, Attitude, and Practice of Personnel regarding Infectious Waste Management in Clinic, Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Technology and Environment-
dc.description.abstract-thการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในคลินิกเป็นสิ่งที่สําคัญ ตั้งแต่ขั้นตอนการคัดแยก การ เก็บรวบรวม การเก็บขน และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ปัจจุบันคลินิกมีปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อที่ไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรในคลินิก จังหวัดภูเก็ต โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรในคลินิกจํานวน 344 คน จากคลินิก 172 แห่ง ผลการศึกษาพบวา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (87%) มีอายุ 20–29 ปี (37%) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (56%) มีตําแหน่งงานเป็นผู้ช่วยแพทย์หรือพยาบาล (59%) มีประสบการณ์การทํางานมากกว่า 5 ปี (52%) มีประสบการณ์ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ(73%) และเคยได้รับการอบรมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (51%) ประเภทของคลินิกส่วนใหญ่เป็น คลินิกเวชกรรม (44%) มีมูลฝอยติดเชื้อเป็นเข็มฉีดยา (91%) มีการเก็บขนและกาจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยการนํามูลฝอยติดเชื้อทิ้งรวมกับมูลฝอยชุมชน (36%) ทั้งนี้บุคลากรทางการแพทย์มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออยู่ในระดับสูง (89.5% 91.9% และ 92.2% ตามลําดับ) ในขั้นตอนต่างๆ ยกเว้นขั้นตอนการเก็บขนและการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรไม่มีความสัมพันธ์ กับปัจจัยส่วนบุคคล ยกเว้นประสบการณ์ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และประสบการณ์ในการทํางาน (ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05) อีกทั้งพบว่าพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความรู้และทัศนคติในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (r = 0.396 และ 0.519 ตามลําดับ) (ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.01) ดังนั้นการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในคลินิก ควรมีนโยบายหรือแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะขั้นตอนการเก็บขนและการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ เพื่อลดความอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนen_US
Appears in Collections:978 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
432190.pdf926.45 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons