Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17065
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันทา เหมทานนท์ | - |
dc.contributor.author | ประภัสสร รัตนพันธ์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T06:27:07Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T06:27:07Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17065 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | กลยุทธ์ค้าปลีก | en_US |
dc.subject | การบริหารจัดการ | en_US |
dc.subject | ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม | en_US |
dc.title | บทบาทของกลยุทธ์ค้าปลีกที่มีต่อการพัฒนาผลการดำเนินงานของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม: กรณีศึกษาร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | The role of retail strategies as determinants of traditional retailer performance improvement: An Investigation of Traditional Retailer in Bang Klam, Songkhla | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปและแนวทางการบริหารจัดการร้านค้าปลีกของธุรกิจร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการกับผลการดาเนินงานของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงสารวจของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกจานวน 250 ตัวอย่างในพื้นที่อาเภอบางกล่า จังหวัดสงขลา จากฐานข้อมูลของร้านค้าปลีกซึ่งมีการจดทะเบียนทางการค้ากับองค์การบริหารส่วนตาบลประจาปี พ.ศ. 2558 ผลการศึกษาพบว่าผู้ประกอบการร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมและเจ้าของร้านส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 31 – 40 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา โดยส่วนใหญ่แล้วขนาดของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมมีพื้นที่ 301 ตรม.ขึ้นไป และ 101 – 200 ตรม. นอกจากนี้ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมใช้เงินในการลงทุนเริ่มแรก 200,001 – 300,000 บาท และมีระยะเวลาในการดาเนินธุรกิจตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าเจ้าของธุรกิจในท้องถิ่นมีแนวโน้มที่จะต้องพิจารณาปัจจัยด้านสถานที่ตั้งว่าเป็นปัจจัยที่ประสิทธิภาพมากที่สุดเพื่อเพิ่มอัตราการเข้าใช้บริการของผู้บริโภค รองลงมาคือ ด้านการออกแบบร้านและการจัดวางสินค้า และด้านนโยบายราคาตามลาดับ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริหารจัดการร้านค้าปลีกกับผลการดาเนินงานแสดงผลกระทบที่ต่างออกไปเล็กน้อย ผลลัพธ์ของงานวิจัยแสดงให้เห็นว่าการบริการลูกค้าเป็นกลยุทธ์การตลาดที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญมากที่สุดที่จะส่งผลต่อผลการดาเนินงานของธุรกิจ นอกจากนี้ความหลากหลายของประเภทสินค้าเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญในการเพิ่มอัตราการใช้บริการของลูกค้าในครั้งถัดไป | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
43.บทบาทของกลยุทธ์ค้าปลีกที่มีต่อการพัฒนาผลการดำเนินงาน.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
43.บทบาทของกลยุทธ์ค้าปลีกที่มีต่อการพัฒนาผลการดำเนินงาน-บทความ.pdf | 388.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License