Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพจน์ ปานรอด-
dc.contributor.authorพรทิพย์ ทองอ่อน-
dc.date.accessioned2020-10-15T04:24:08Z-
dc.date.available2020-10-15T04:24:08Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13172-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์และความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพรจากโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริโภคที่คาดว่าจะซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP จานวน 385 คน ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วย ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามโดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20 – 29 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี สถานภาพโสด และเป็นผู้ที่มีรายได้เฉลี่ยตั้งแต่15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับที่เห็นด้วย ระดับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP อยู่ในระดับความคิดเห็นที่เห็นด้วยคิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.94 อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 และความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP มีความสัมพันธ์เชิงบวก (r= 0.67) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าปัจจัยด้านบรรจุภัณฑ์หรือหีบห่อมีผลต่อความตั้งใจซื้อมากที่สุด (r= 0.69) อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 และค่าความเชื่อมั่นที่ 99%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectเครื่องสำอางสมุนไพรen_US
dc.subjectความตั้งใจซื้อen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรังen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Attitudes towards Tangible Product to Purchase Intention Herbal Cosmetics Products, in Trang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5710522028.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open
5710522028-manuscript.pdf233.76 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons