Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธินี ฤกษ์ขำ-
dc.contributor.authorชนิตา รัตนไชยยันต์-
dc.date.accessioned2020-06-22T07:42:02Z-
dc.date.available2020-06-22T07:42:02Z-
dc.date.issued2562-01-14-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13024-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ), 2562en_US
dc.description.abstractบทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อระบุระดับความสำคัญของกิจกรรมพัฒนาบุคลากรในแต่ละด้านของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จากการรับรู้ของพยาบาลในฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ (2) เพื่อระบุระดับผลการดำเนินงานของกิจกรรมพัฒนาบุคลากรในแต่ละด้านของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จากการรับรู้ของพยาบาลในฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสม สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ ประชากรในการศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพในฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ ทั้งสิ้น 169 คน และเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยค่าทางสถิติที่ใช้ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต(Mean)และค่าเฉลี่ย(x̄)ซึ่งค่าเฉลี่ยที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ IPA (ImportancePerformance Analysis) ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ (1) ระดับความสำคัญและระดับผลการดำเนินงานของกิจกรรมพัฒนาบุคลากรเพื่อไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทั้ง 5 ด้าน ตามการรับรู้ของพยาบาลระดับปฏิบัติการ 1-4 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งค่าเฉลี่ยของระดับความสำคัญมากกว่าระดับผลการดำเนินงาน (2) การรับรู้ของพยาบาลระดับปฏิบัติการ 1-4 ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมมีระดับความสำคัญและระดับผลการดำเนินงานสูงที่สุด และด้านความรอบรู้แห่งตนมีระดับความสำคัญและระดับผลการดำเนินงานต่ำที่สุด(3)จากการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ IPA ในภาพรวมควรมีการพัฒนากิจกรรมด้านความรอบรู้แห่งตนเป็นอันดับแรก เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดแรงกระตุ้นในการพัฒนาตนเอง และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คำสำคัญ : ระดับความสำคัญผลการดำเนินงานองค์กรแห่งการเรียนรู้ Abstract This research investigated the importance and performance of personal development toward a learning organization from the perception of nurses in the nursing division in Bangkok Hospital Hatyai. The objectives of this study were 1) to identify the level of importance in each discipline toward a learning organization 2) to identify the level of performance in each discipline toward a learning organization 3) to suggest the way to develop the personal development toward a learning organization. Data were collected by the questionnaires from a population of 169 registered nurses working in the nursing division of Bangkok Hospital Hatyai. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, and Importance-performance analysis (IPA) tool The results showed the overall level of importance and performance of personal development toward a learning organization from the perception of registered nurses levels 1-4 were high in all five disciplines. According to the perception of 169 registered nurses the average level of importance was higher than the performance of personal development activities toward a learning organization. Furthermore registered nurse levels 1-4 perceived that the shared vision aspect had the highest level of importance and performance while the personal mastery aspect had the lowest level of importance and performance. Base on the results of the IPA, the nursing division should enhance personal development activities regarding the personal mastery aspect which could help every nurse to have more motivation to develop themselves to perform efficiently and effectively. Keywords: Importance, Performance, Learning organizationen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectองค์กรแห่งการเรียนรู้en_US
dc.subjectLearning organizationen_US
dc.subjectการพัฒนาองค์การen_US
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.titleความสำคัญและผลการดำเนินงานของการพัฒนาบุคลากรสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้: กรณีศึกษาฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่en_US
dc.title.alternativeImportance and Performance of Personal Development toward a Learning Organization: A Case Study of Nursing Division, Bangkok Hospital Hatyaien_US
dc.typeArticleen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5710521027_Chanita.pdf621.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.