Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกลางใจ แสงวิจิตร-
dc.contributor.authorรุ่งนภา อนุโสภณ-
dc.date.accessioned2020-03-23T07:28:30Z-
dc.date.available2020-03-23T07:28:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12742-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.description.abstractการศึกษาครังนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาพฤติกรรมการออมเงินและวิเคราะห์ ปั จ จัย ที มี ค ว า ม สั ม พัน ธ์ กับ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร อ อ ม เ งิ น ข อ ง ส ม า ชิ ก ส ห ก ร ณ์ อ อ ม ท รั พ ย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จํากด สาขาสุราษฎร์ธานี ั กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัยครังนีสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จํากด สาขาสุราษฎร์ธานี จําน ั วน 202 คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็ นเครืองมือในการเก็บข้อมูล สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี ค่าร้อยละ ค่า ผลรวม และการทดสอบโดยใช้ค่าสถิติทีเรียกวา ไค ่ -สแควร์ (Chi-Square) ค่าสัมประสิทธิสัมพันธ์ ของสเปี ยร์แมน (Spearman’s Correlation) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation) ผลการศึกษา พบว่า สมาชิกทีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็ นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 30 – 40 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี และมีสถานภาพโสด สําหรับในด้าน ครอบครัวสมาชิกจะมีจํานวนสมาชิกในครอบครัว 3 – 4 คน โดยสมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยและเป็ นสมาชิกสหกรณ์มาแล้ว 5-10 ปี มีรายได้หลักจากเงินเดือนมากกว่า 25,000 บาทต่อเดือน ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายจากการอุปโภคและบริโภคในชีวิตประจําวัน เช่น ค่าอาหาร ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เป็ นต้น และมีภาระหนีสินเฉลียคนละ 5,000 10,000 บาทต่อ เดือน สมาชิกสหกรณ์มีการลงทุนในหุ้นสหกรณ์ในช่วง 1,000 – 3,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 61.88 และกระจายไปทุกช่วงรายได้ คือตั งแต่น้อยกวา ่ 1,000 บาทไปจนถึงมากกวา ่ 5,000 บาทต่อ เดือนสําหรับการออมในรูปแบบเงินฝากสหกรณ์โดยกลุ่มทีออมเงินโดยการฝากเงินกบสหกรณ์ ั น้อยกว่า 1,000 บาทต่อเดือนเป็ นกลุ่มทีมีสัดส่วนมากทีสุดถึงร้อยละ 30.69 มีวัตถุประสงค์ในการ ออมเพือไว้ใช้ในยามชรา และเลือกออมในรู ปแบบกรมธรรม์ประกันชีวิต ร้อยละ 25.87 เมือ พิจารณาในภาพรวมการออมของสมาชิกสหกรณ์ยังอยู่ในสัดส่วนทีน้อยมากเพียงร้อยละ 20 ของ รายได้ทําให้สมาชิกสหกรณ์มีเงินสํารองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินเพียง 1-2 เดือนเท่านัน (4) นอกจากนันผลการศึกษาทีได้จากการทดสอบ ไค-สแควร์ (Chi-Square Test) สัมประสิทธิสัมพันธ์ของสเปี ยร์แมน (Spearman’s Correlation) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ แบบเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation) พบวา ปัจจั ่ ยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ประเภท การเป็ นสมาชิก มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในรูปแบบค ั ่าหุ้นสหกรณ์ เพศ ประเภทการ เป็ นสมาชิก ระยะเวลาการเป็ นสมาชิก มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในรูปแบบเงินฝาก ั สหกรณ์ ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในส ั ่วนของวิธีการจัดสรรเงินออม ในแต่ละเดือน เพศ ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมในส่วนของวิธีการ จัดสรรเงินออมเมือมีเงินจํานวนมาก และเพศ ประเภทการเป็ นสมาชิก จํานวนสมาชิกในครอบครัว และระยะเวลาการเป็ นสมาชิก มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในส ั ่วนของระยะเวลาการมี เงินสํารองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน ทีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 สําหรับปัจจัยทางเศรษฐกิจ พบว่า เงินเดือนค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาลและยารักษาโรค ค่าใช้จ่ายสันทนาการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าผ่อนรถยนต์/อุปกรณ์เครืองใช้ภายในบ้าน ภาระในการชําระหนีเจ้าหนีอืน มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการออมในรูปแบบค่าหุ้นสหกรณ์ เงินเดือน ค่าอาหาร มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการ ั ออมในรูปแบบเงินฝากสหกรณ์ เงินเดือน รายได้อืนๆ เงินงวดชําระหนีเจ้าหนีอืน ภาระหนีสินใน่ สวนของเงินกูสหกรณ์ออมทรัพย์ประเภทเงินกู ้ สามัญ เงินกู ้ พิเศษ เงินกู ้ ธนาคารพาณิชย์ ้ และสถาบัน การเงินอืนๆ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในส ั ่วนของอัตราเงินออมในแต่ละเดือน ค่า เสือผ้าและเครืองแต่งกาย ค่าสาธารณูปโภค ค่าผ่อนรถยนต์/อุปกรณ์เครืองใช้ภายในบ้าน ภาระ หนีสินในส่วนของเงินกู้สหกรณ์ออมทรัพย์ประเภทเงินกู้พิเศษ เงินกู้ฉุกเฉิน และเงินกู้ธนาคาร พาณิชย์และสถาบันการเงินอืนๆ มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการออมในส ั ่วนของวิธีการจัดสรร เงินออมในแต่ละเดือน ค่าผอนบ้าน ภาระหนี ่ สินในส่วนของเงินกูสหกรณ์ออมทรัพย์ประเภทเงินกู ้ ้ พิเศษและเงินกูธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอืนๆ มีความสัมพันธ์ก ้ บพฤติกรรมการ ั ออมใน ส่วนของวิธีการจัดสรรเงิน เมือมีเงินจํานวนมาก เงินเดือน รายได้อืนๆ ค่าอาหาร ค่าเสือผ้าและ เครืองแต่งกาย ค่าใช้จ่ายสันทนาการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าสาธารณูปโภค เงินงวดชําระหนี เจ้าหนีอืน ภาระหนีสินในส่วนของเงินกูสหกรณ์ออมทรัพย์ประเภทเงินกู ้ สามัญ ้ เงินกูฉุกเฉิน และ ้ เงินกูธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอืนๆ มีความสัมพันธ์ก ้ บพฤติกรรมการออมในส ั ่วนของ ระยะเวลาการมีเงินสํารองไว้ใช้ในกรณี ฉุกเฉิน ทีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และทีระดับ นัยสําคัญ 0.01 สําหรับการทดสอบโดยใช้ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectพฤติกรรมการออม,ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมen_US
dc.subjectSaving behavior, Factors influence saving behavioren_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จำกัด สาขาสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeFactors influence members’ saving behavior of PSU Saving and Credit Co-operative Limited, Suratthani branch.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.