Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสกสรร สุธรรมานนท์-
dc.contributor.authorสราลี ล่องนาวา-
dc.date.accessioned2020-02-26T09:05:35Z-
dc.date.available2020-02-26T09:05:35Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12629-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการอุตสาหกรรม),2561en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดการขัดข้องของเครื่องจักรในการผลิตไฟฟ้า อย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์ โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านคุณภาพและแนวทางของ QC Story ในการค้นหาสาเหตุของปัญหาและการแก้ไขปัญหาให้ได้ตามวัตถุประสงค์ โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนหลัง 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – มิถุนายน 2561 เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบผลการดำเนินการหลังการปรับปรุง จากการศึกษาพบว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของเครื่องจักรที่มีปัญหาสูงสุด คือ Ash Vessel, Step Grate และ Ram Feeder จากนั้นได้ทำการปรับปรุงและจัดทำแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน กำหนดเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หลังการปรับปรุง พบว่า จำนวนการเกิดความขัดข้องของเครื่องจักร Ash Vessel ลดลงเฉลี่ยจากเดิม 11.83 ครั้งต่อเดือนเหลือ 2 ครั้งต่อเดือนคิดเป็น 84.53 เปอร์เซ็นต์ ค่า MTBF เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจากเดิม 432.366 ชั่วโมงหรือประมาณ 18 วัน เป็น 1,897.636 ชั่วโมง หรือประมาณ 79 วัน และค่า MTTR ลดลงโดยเฉลี่ยจากเดิม 5.01 ชั่วโมงเหลือ 3.326 ชั่วโมง จำนวน การเกิดความขัดข้องของเครื่องจักร Step Grate ลดลงจากเดิม 9.16 ครั้งต่อเดือนเหลือ 5.16 ครั้งต่อเดือนคิดเป็น 45.45 เปอร์เซ็นต์ ค่า MTBF เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจากเดิม 887.95 ชั่วโมงหรือประมาณ 37 วันเป็น 1,116.9175 ชั่วโมงหรือประมาณ 47 วัน และค่า MTTR ลดลงโดยเฉลี่ยจากเดิม 5.84 ชั่วโมงเป็น2.02 ชั่วโมง จำนวนการเกิดความขัดข้องของเครื่องจักร Ram Feeder ลดลงโดยเฉลี่ยจากเดิม 4 ครั้งต่อเดือนเหลือ 2.66 ครั้งต่อเดือน คิดเป็น 33.5 เปอร์เซ็นต์ ค่า MTBF เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจากเดิม 467.94 ชั่วโมงหรือประมาณ 20 วันเป็น 968.79 ชั่วโมงหรือประมาณ 40 วัน และค่า MTTR ลดลงโดยเฉลี่ยจากเดิม 3.69 ชั่วโมงเป็น 2.19 ชั่วโมง โดยหลังการปรับปรุงพบว่าสามารถลดค่าเสียโอกาสในการขายไฟฟ้าเหลือเพียง 7,405,320 บาท หรือคิดเป็น 3.41 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectลดความขัดข้องen_US
dc.titleการลดความขัดข้องของเครื่องจักรในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeReduction of Machine Break-Down for Industrial Power Planten_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
Appears in Collections:228 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5710121020.pdf187.06 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.