Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดนัย ทิพย์มณี | - |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ ฉิมดิษฐ์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-11T08:11:19Z | - |
dc.date.available | 2020-02-11T08:11:19Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12583 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | The aims of this study was to investigate the temporal distribution, level of accumulation and source identification of PAHs in sediment cores. Three sediment cores were collected using a Gravity corer from near shore sediment off the Andaman coast area: 2 sediment cores from (Khaolak and Thub lamu coastal) and 1 sediment core from the eastern inner Gulf of Thailand. Quantitative analysis of 15 PAHs in sediment were performed by soxhlet extraction and the PAHs level was determined by GC-MS. Moreover, the multi-techniques such as diagnostic ratios and principle component analysis were applied to apportion the potential sources of PAHs in the study areas. The results showed that total concentration of 15 PAHs (PAHS15) in Khao lak coastal area and Thub Lamu range from 17.4-48.4 and 20.8-88.5 ng/g dry weight with the average of 29.5±7.21 and 40.8+23.0 ng/g dry weight respectively, Σ PAHS15 from the eastern inner Gulf of Thailand were in the range from 22.6-313 ng/g dry weight with an average of 177+85.7 ng/g dry weight. The diagnostic ratios of PAHs plot among could be used to identify the potential sources of PAHs sources. Source identification using diagnostic PAH ratios indicated that the potential sources of PAHs in three sediment cores most sediment samples originated from pyrogenic sources. The level of contamination of PAHs sediment in the eastern inner Gulf of Thailand was higher than the near shore sediment off Andaman coast. Moreover, the sediment accumulation rate was studied using 210pb sediment depth profile to analyse temporal distribution in sediment cores can be calculated back to 141 and 83 years in sediment cores from Khaolak and the eastern inner Gulf of Thailand, respectively. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การกำจัดสารปนเปื้อนในดิน | en_US |
dc.title | การปนเปื้อนของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่บันทึกในตะกอนดินนอกชายฝั่งอันดามัน และอ่าวไทยตอนในฝั่งตะวันออก | en_US |
dc.title.alternative | Polycyclic Aromatic Hydrocarbon Contamination Record in Near Shore Sediment off Andaman Coast and the Eastern Inner Gulf of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Technology and Environment | - |
dc.description.abstract-th | ศึกษาการกระจายตัวเชิงเวลา ระดับการสะสม และแหล่งกําเนิดของสาร Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAHs) ในแท่งตะกอนดิน โดยเก็บตัวอย่างตะกอนดินด้วย Gravity Corer จํานวน 3 แท่งตะกอน จากนอกชายฝั่งอันดามันจํานวน 2 แท่งตะกอนจากบริเวณ เขาหลักและบริเวณทับละมุ และบริเวณอ่าวไทยตอนในฝั่งตะวันออก จํานวน 1 แท่งตะกอน โดย สกัดตะกอนดินด้วยวิธีซอกเลต (soxhlet) และวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของ PAHs 15 ชนิด ด้วย เครื่องแก๊สโครมาโทรกราฟีแมสสเปคสเปคโทรมิเตอร์ (GC-MS) จากนั้นใช้ diagnostic ratio และ principle component analysis (PCA) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจําแนกแหล่งกําเนิดของ PAHs ใน พื้นที่ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นรวมของ PAHs 15 ชนิด (PAHs15) บริเวณชายฝั่งทะเล เขาหลัก และบริเวณทับละมุ จังหวัดพังงา อยู่ในช่วง 17.4-48.4 และ 20.8-88.5 นาโนกรัม/กรัม น้ําหนักแห้ง โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.5±7.21 และ 40.8+23.0 นาโนกรัม/กรัม น้ําหนักแห้ง ตามลําดับ ส่วนบริเวณอ่าวไทยตอนในฝั่งตะวันออก มีค่า PAHs15 เท่ากับ 22.6-313 นาโนกรัม/ กรัม น้ําหนักแห้ง และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 177+85.7 นาโนกรัม/กรัม น้ําหนักแห้ง จากการวิเคราะห์ อัตราส่วนความสัมพันธ์ของ PAHs เพื่อจําแนกแหล่งกําเนิดของ PAHs พบว่าตัวอย่างตะกอนดินทั้ง 3 แท่งตะกอน มีแหล่งกําเนิดส่วนใหญ่มาจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ (pyrogenic) เมื่อเปรียบเทียบ ผลการวิเคราะห์ พบว่าบริเวณอ่าวไทยตอนในฝั่งตะวันออก มีระดับความเข้มข้นของ PAHs สูงกว่า ตะกอนดินจากนอกชายฝั่งอันดามัน และจากการวิเคราะห์อัตราการตกทับถมของตะกอนด้วยวิธี เทคนิคกัมมันตภาพรังสีตะกั่ว-210 (210Pb) เพื่อวิเคราะห์การกระจายตัวเชิงเวลา สามารถคํานวณ ย้อนกลับไปได้ 141 และ 83 ปี ในแท่งตะกอนบริเวณชายฝั่ง | - |
Appears in Collections: | 978 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
432962.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License