Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTripob Bhongsuwan-
dc.contributor.authorKomrit Wattanavatee-
dc.date.accessioned2019-12-25T08:20:21Z-
dc.date.available2019-12-25T08:20:21Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12488-
dc.descriptionThesis (Ph.D., Physics)--Prince of Songkla University, 2018en_US
dc.description.abstractThe purpose of this study is to determine the activity concentration of natural terrestrial radionuclides (238 U, 226Ra, 232Th and 40K), airborne radionuclides (210Pb, 210Pbx and 'Be) and anthropogenic radionuclide (137Cs) in naturally grooving mosses. Totally 9 moss samples from 2 different species were collected from 3 sampling sites around Hatyai city (Songkhla province), and 46 moss samples from 17 different species were collected from the 17 particular sampling localities in the National Parks and Wildlife Sanctuaries of Thailand, where are situated in the mountainous areas between the northern to the southern ends of Peninsular Thailand (7 - 12 °N, 99 102 °E). Their activity concentrations were measured using an ultra-low background gamma spectrometer. The results revealed non-uniform spatial distributions of all natural radionuclides in the study areas, while 137Cs activity concentrations are below minimum detectable activity. Principal component analysis and cluster analysis revealed the two distinguish origins of those radionuclides; furthermore, the Pearson coefficients showed the strong correlations between radionuclides in the same group (Ra, 232Th, 238U and 40K) as well as 210Pb and 210Pbx. However, not only there is no any correlation between the two distinguish groups but also with 'Be as expected, this is due to difference in their origins. The measured activity concentrations in moss samples varied largely due to the differences of moss species, topography, geology and meteorology of sampling areas. The abnormally high concentrations of some radionuclides indicated probably that a high concentration of terrestrial radionuclide in moss samples directly related to local geological features in the sampling site, or that a high level of 'Be most probably linked with topography and regional North - East monsoonal wind coming from mainland China to the Peninsular Thailand.-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectRadioactive substances Thailand, Southernen_US
dc.subjectMosses Radionuclide imaging Thailand, Southernen_US
dc.titleStudy of natural background radionuclides content in mosses and other environmental samples in the Southern Thailanden_US
dc.title.alternativeการศึกษาปริมาณนิวไคลด์กัมมันตรังสีภูมิหลังในธรรมชาติในมอสและตัวอย่างอื่นๆ ในสิ่งแวดล้อมในภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Physics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์-
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อหาความเข้มข้นกัมมันตภาพรังสีของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในธรรมชาติ ในมอสที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ นิวไคลด์ที่ตรวจสอบประกอบด้วย นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มาจากพื้นโลก (238U, 226Ra, 232Th and 40K), จากอากาศ (210Pb, 210Pbex and 7Be) และนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น (137Cs) ตัวอย่างมอสที่ตรวจสอบ 2 สายพันธุ์ จํานวน 9 ตัวอย่าง เก็บจาก 3 บริเวณรอบอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ ตัวอย่างมอสอีก 17 สายพันธุ์ รวม 46 ตัวอย่าง เก็บมาจาก 17 บริเวณในเขตอุทยานแห่งชาติและเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ภูเขาระหว่างตอนบนถึงตอนล่างของคาบสมุทรไทย (7 - 12 °N, 99 - 102 °F) เตรียมตัวอย่างมอสด้วยการอบแห้ง ตรวจวัดตัวอย่างด้วยเครื่องวิเคราะห์รังสีแกมมาแบบระดับรังสีภูมิหลังต่ํามาก ผลการศึกษาพบว่า ความเข้มข้นกัมมันตภาพรังสีของทุกนิวไคลด์กัมมันตรังสีในธรรมชาติมีการกระจายเชิงพื้นที่ไม่ สม่ําเสมอ ในขณะที่กัมมันตภาพรังสีของ Cs มีค่าน้อยกว่าค่าต่ําสุดที่สามารถตรวจวัดได้ของเครื่องมือวัด จาก การวิเคราะห์ผลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle component analysis) และเทคนิคการ จัดกลุ่ม (Cluster analysis) พบว่า สามารถแยกแหล่งกําเนิดของนิวไคลด์ที่ศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก ประกอบด้วย Ra, Th, PU และ K อีกกลุ่มหนึ่งประกอบด้วย Pb and Pb โดยนิวไคลด์ที่อยู่ใน กลุ่มเดียวกันจะมีความสัมพันธ์กันสูงมากโดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์เพียร์สัน อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์กัน ระหว่างนิวไคลด์ทั้งสองกลุ่ม อีกทั้งไม่พบความสัมพันธ์กับ "Be ตามที่ถูกคาดการณ์ไว้ เนื่องมาจากความต่างกัน ของแหล่งกําเนิดของนิวไคลด์แต่ละกลุ่ม นอกจากนี้ค่าความเข้มข้นกัมมันตภาพของนิวไคลด์ในมอสยังมีการแปรปรวนในช่วงกว้างมาก อาจเนื่องมาจากความหลากหลายของสายพันธุ์มอส รวมถึงสภาพภูมิประเทศ สภาพ ธรณีวิทยา และสภาพอุตุนิยมวิทยาของจุดเก็บตัวอย่างอีกด้วย ค่ากัมมันตภาพรังสีที่สูงผิดปกติของนิวไคลด์บางตัวในมอสแสดงถึงความเป็นไปได้ที่มีความเกี่ยวข้องระหว่างกัมมันตรังสีในธรรมชาติจากพื้นโลกกับลักษณะทางธรณีวิทยาท้องถิ่นของจุดเก็บตัวอย่าง นอกจากนี้กัมมันตภาพรังสีของ "Be ยังมีความเชื่อมโยงกับทั้งสภาพภูมิ ประเทศรวมถึงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่เคลื่อนที่จากจีนแผ่นดินใหญ่มายังคาบสมุทรไทย-
Appears in Collections:332 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426607.pdf6.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons