Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12484
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Tatiyaporn Jarumaneerat | - |
dc.contributor.author | Garin, Florence Anjali | - |
dc.date.accessioned | 2019-12-19T08:57:34Z | - |
dc.date.available | 2019-12-19T08:57:34Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12484 | - |
dc.description | Thesis ((M.B.A., Hospitality and Tourism Management (International program))--Prince of Songkla University, 2018 | en_US |
dc.description.abstract | This study aims at investigating the gap between green practices awareness and implementation among the Meetings, Incentives, Conferences and Exhibitions (MICE) Operators in the case study of Phuket (Thailand) as a tourism destination, Globally, the Tourism and Events industries are both growing and recognized to have negative impacts on the environment. In this context, an increasing number of green practices guidelines are developed from public, private and public-private organizations to help the MICE Industry minimizing negative impacts on the environment. Phuket beingone of the most popular destinations in Thailand, the purpose of this research is to appraise green practices awareness and implementation among MICE Operators. Face-to-face interviews were conducted to collect qualitative data from August to October 2017 in Phuket. A sample of 15 informants from the Phuket MICE industry answered the interview questions. Two populations were identified between the 13 Phuket MICE Operators: (1) MICE Organizers and (2) Accommodations with MICE services. The results reveal that Phuket MICE Operators are rather aware of and do implement green practices, but a gap exists between awareness and implementation because of several obstacles, among which clients' request, external lack of awareness and costs. The result of this survey is intended as a tool to help both planners and suppliers integrate sustainable practices within an organization's operations and regular event plans. Through this research, a better understanding about environmental, social and economic sustainability issues and their implication on the events organized is gained. | - |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.subject | Business travel Phuket | en_US |
dc.subject | Congresses and conventions Phuket | en_US |
dc.subject | Green movement Phuket | en_US |
dc.title | Awareness and implementation of green practices : a case study of MICE operators in Phuket, Thailand | en_US |
dc.title.alternative | ความตระหนักและการดำเนินการตามหลักปฏิบัติสีเขียว : กรณีศึกษาผู้ประกอบการไมซ์ในจังหวัดภูเก็ต | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว | - |
dc.description.abstract-th | การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจที่มักเป็นที่รู้จักในนามการท่องเที่ยวไมซ์ อันประกอบด้วย งานประชุม การท่องเที่ยวเชิงรางวัล สัมมนา และการนิทรรศการนั้นเป็นธุรกิจที่ได้รับความสําคัญ และเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่การจัดงานประชุม และกิจกรรมต่างๆ นั้นมักจะโดนวิพากษ์วิจารณ์ถึง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างให้ ความสําคัญในการกําหนดแนวทางการจัดงานประชุมสีเขียวที่คํานึงต่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นรูปธรรม อาทิ สํานักงานส่งเสริมการประชุมและนิทรรศการ สสปน ( ได้กําหนดคู่มือการ จัดประชุมสีเขียวที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมไมซ์สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตเป็นหลักเนื่องด้วยจังหวัดภูเก็ตเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญสําหรับอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย โดยวัตถุประสงค์หลัก ประกอบด้วยประเมินการรับรู้ของผู้จัดงานและผู้ประกอบการด้านไมซ์ในจังหวัดภูเก็ตและการ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจัดประชุมสีเขียวทั้งนี้ ความเข้าใจและการประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์การ ประชุมสีเขียวนั้นเป็นจุดเริ่มต้นที่สําคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยได้ เนินการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกระหว่างเดือน สิงหาคม - ตุลาคม 2560ผู้ให้ข้อมูลรวมทั้งหมด 13คน แบ่งเป็นกลุ่มผู้จัดงานและผู้จัดการแผนกที่ เกี่ยวข้องการจัดการงานที่ทํางานภายในโรงแรม ซึ่งผลวิจัยชี้ให้เห็นเป็นประจักษ์ว่าผู้ประกอบการ ทั้งสองกลุ่มเข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตามแนวทางการจัดประชุมสีเขียวในหลากหลายด้าน แต่ ประสบปัญหาในการดําเนินการอันเป็นสืบเนื่องจากหลายสาเหตุ เช่น ความต้องการของลูกค้า ค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น ผลจากการวิจัยสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางสําหรับผู้จัดงานและผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมไมซ์ในการจัดประยุกต์แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนในการจัดงาน และเพิ่มความ เข้าใจประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดงานประชุมสีเขียว | - |
Appears in Collections: | 816 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
426598.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.