Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักษ์บำรุง, ถาวรินทร-
dc.contributor.authorอุหลีโหด, ปรวรรษ-
dc.date.accessioned2018-05-16T02:41:06Z-
dc.date.available2018-05-16T02:41:06Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11838-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้อุปกรณ์การดึงยืดสุดที่มีต่อทักษะการดึงเหล็กในท่าสแนทช์ ท่าคลีนและ การส่งเหล็กท่าเจอร์คของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาชายของ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา จำนวน 30 คนมีอายุเฉลี่ย 19 ปี และ ส่วนสูงทั้งสองกลุ่มเฉลี่ย 163.23 เซนติเมตร จากการเลือกแบบเจาะจง จากนั้นทำการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ด้วยวิธีการจับฉลาก ได้แก่ กลุ่มควบคุม ทำการฝึกยกน้ำหนักตามโปรแกรมตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลอง ทำการฝึกยกน้ำหนักตามโปรแกรมการฝึก โดยฝึกในอุปกรณ์การดึงยืดสุด ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ทำการทดสอบทักษะยกน้ำหนักในท่าสแนทช์ ท่าคลีนแอนเจอร์ค 3 ระยะ คือ ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 โดยทั้ง 2 กลุ่ม ดำเนินการฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ ระยะเวลาในการฝึก 1 ชั่วโมง รวมระยะเวลา 8 สัปดาห์ จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทำการทดสอบค่า (t-test) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า 1. พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความถูกต้องของทักษะการดึงเหล็กท่าสแนทช์และท่าคลีนแอนเจอร์ค ของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยคะแนนความถูกของทักษะดีขึ้นกว่าก่อนการฝึก 2.ค่าเฉลี่ยคะแนนความถูกต้องของทักษะการยกน้ำหนักทั้ง ท่าสแนทช์และท่าคลีนแอนเจอร์ค ของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05 แต่ภายหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉสี่ยคะแนนความถูกต้องของทักษะการยกน้ำหนักทั้ง 2 ท่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า ทักษะการดึงเหล็กท่าสแนทช์ และท่าคลีนแอนเจอร์ค ของกลุ่มทดลองที่ใช้อุปกรณ์การดึงยืดสุดดีกว่า กลุ่มกลุ่มควบคุมที่ไม่ใช้อุปกรณ์การดึงยืดสุด The purpose of this study was to investigat ate the effects of pull equipment training on The full extension of the Barbell Snatch, Clean and Jerk Technique. Thirty male undergraduate students from Institute of Physical Education Yala.Subjects average of ages 19 years old with average height 163.23 centimeters, selected from purposive sampling and were divided by simple random sampling into two groups. The control group received training with used only weight lifting program, while experiment group was given training using The Pull Equipment Training with The Full Extension on the Barbell development by the researcher. The subjects were then pre-test and post-test at the 4th weeks and 8th weeks. Each group was training weight lifting program 3 times per week 1 hour per day and for a total of 8 weeks. The data were analyzed by mean, standard deviation, and t – test. The results of study found that : 1. There were significantly different at .05 level of both groups in mean score on correctness weight lifting technique of two skill (Snatch , Clean and Jerk ) at post-test 4th weeks and 8th weeks. 2. The mean score on correctness weight lifting skill at pre-test no different at .05 level between the control group and experimental group. However, at post-test 4th weeks and 8th weeks of two skill (Snatch, Clean and Jerk ) training the experiment group were significantly higher than the control group at .05 level. In conclusion, the pull equipment Training with The full extension has potentially to could improve basic skill on the barbell snatch, clean and jerk skill for student and new athlete.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีth_TH
dc.subjectการดึงเหล็กในสแนทช์ท่าคลีนth_TH
dc.subjectการส่งเหล็กท่าเจอร์คth_TH
dc.titleผลของการใช้อุปกรณ์การดึงยึดสุดที่มีต่อทักษะการดึงเหล็กในท่าสแนทช์ท่าคลีนและการส่งเหล็กท่าเจอร์คth_TH
dc.title.alternativeEffects of Pull Equipment Trainning with the Full Extension on the Barbell Snatch, Clean and Jerk Techniqueth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Education)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา-
Appears in Collections:270 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1461.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.