Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักษ์บำรุง, ถาวรินทร-
dc.contributor.authorปัณฑิโต, สมชาย-
dc.date.accessioned2018-05-16T02:34:17Z-
dc.date.available2018-05-16T02:34:17Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11837-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการใช้โปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องที่มีผลต่อความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตรของนักกรีฑาวิ่งระยะสั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกรีฑาชาย โรงเรียนกีฬาจังหวัดยะลา จำนวน 30 คน มีอายุเฉลี่ย 14 ปี จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random) จัดเข้ากลุ่มตัวอย่าง เป็น 2 กลุ่มๆละ 15 คน ด้วยวิธีการจับคู่ (Matching) โดยการเรียงลำดับเวลาจากการทดสอบวิ่งระยะทาง 50 เมตร กลุ่มควบคุมฝึกตามโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้น ส่วนกลุ่มทดลองฝึกโปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องควบคู่กับโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้นที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยทั้ง 2 กลุ่มตัวอย่างทำการฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ ใช้เวลาฝึก 2 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบวิ่งระยะทาง 50 เมตร ก่อนการฝึกและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 จากนั้นนำผลการทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร ก่อนการฝึกกับหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ภายในกลุ่มทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลของการฝึกระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า ภายหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่าโปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องควบคู่กับโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้นในระยะเวลา 8 สัปดาห์ สามารถพัฒนาความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร สำหรับนักกรีฑาวิ่งระยะสั้นได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการใช้โปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องที่มีผลต่อความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตรของนักกรีฑาวิ่งระยะสั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกรีฑาชาย โรงเรียนกีฬาจังหวัดยะลา จำนวน 30 คน มีอายุเฉลี่ย 14 ปี จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random) จัดเข้ากลุ่มตัวอย่าง เป็น 2 กลุ่มๆละ 15 คน ด้วยวิธีการจับคู่ (Matching) โดยการเรียงลำดับเวลาจากการทดสอบวิ่งระยะทาง 50 เมตร กลุ่มควบคุมฝึกตามโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้น ส่วนกลุ่มทดลองฝึกโปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องควบคู่กับโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้นที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยทั้ง 2 กลุ่มตัวอย่างทำการฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ ใช้เวลาฝึก 2 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบวิ่งระยะทาง 50 เมตร ก่อนการฝึกและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 จากนั้นนำผลการทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร ก่อนการฝึกกับหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ภายในกลุ่มทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลของการฝึกระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า ภายหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่าโปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องควบคู่กับโปรแกรมการฝึกกรีฑาวิ่งระยะสั้นในระยะเวลา 8 สัปดาห์ สามารถพัฒนาความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร สำหรับนักกรีฑาวิ่งระยะสั้นได้ The purpose of this study was to examine and compare effects of the matrix of nine square training program on the speed of 50 – meters for sprinter athletes from Yala Sports School. Thirty males 14 years old were selected by a purposive random sampling and the subject was divided into the control group and the experimental group by matching technique from 50 –meter speed test. The control group of short - running training program and the experimental group of the matrix of nine Square training with short- running training program designed by the researcher. Each subjects participated in the training session three days a week at 2 hrs per day for a total to training 8 weeks. All subjects were tested on their speed before and after 4 and 8 weeks training program. Then the data were analyzed using mean, standard deviation and t-test method for the comparison test. The results were that the mean of speed in short distance 50 -meter sprinter athletes, before and after training for 8th week in the experimental group revealed a significant difference level at .05, but the control group has no different at .05 level and the comparison between experimental group and control group to found that after 8th week effects of training the matrix of nine square on sprinters in the speed distance of 50 – meter were significant difference at .05 level In conclusion, The Matrix of nine square training program combined short- running training at 8th weeks could improve on speed distance of 50 – meter for sprinters athletes.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีth_TH
dc.subjectนักกรีฑาวิ่งระยะสั้นth_TH
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมการฝึกตารางเก้าช่องที่มีผลต่อความเร็วในการวิ่งระยะทาง 50 เมตร ของนักกรีฑาวิ่งระยะสั้นth_TH
dc.title.alternativeEffect of the Matrix of Nine Square Training Program on Speed of 50 - Meters for Sprinter Athletesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Education)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา-
Appears in Collections:270 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1459.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.