Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่วนไพโรจน์, สุใจ-
dc.contributor.authorหมื่นสุรินทร์, ศุภลักษณ์-
dc.date.accessioned2018-02-15T03:05:40Z-
dc.date.available2018-02-15T03:05:40Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11591-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(วิชาจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (ExperimentalResearch) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการลดพฤติกรรมเสพเกมของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดปัตตานี และเสี่ยงต่อการติดเกมคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย จำนวน 64 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 32 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม เป็นเวลาทั้งหมด 19 ชั่วโมง คือ กิจกรรมปฐมนิเทศ เป็นเวลา 7 ชั่วโมง การประชุมกลุ่มย่อยจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 1½ ชั่วโมง กิจกรรมการมีส่วนร่วมของครอบครัว เป็นเวลาทั้งหมด 11 ชั่วโมง คือ กิจกรรมปฐมนิเทศผู้ปกครอง เป็นเวลา 4½ชั่วโมง และกิจกรรมร่วมกับครอบครัว เป็นเวลา 6½ ชั่วโมง กลุ่มควบคุมไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล Paired sample t-test และ Independent samples t-test ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวมีคะแนนพฤติกรรมการเล่นเกมลดลงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวมีคะแนนพฤติกรรมการเล่นเกมลดลงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05The objective of this Experimental Research was to study group process and family participation for reducing game addiction of adolescents. The samples were MattayomSuksa 1-6 high school students in academic year 2015 of Demonstration School Prince of Songkla University in Pattani Province. The samples of 64 students who were at risk for computer games addiction were divided into experimental group and control group with 32 students in each using the simple random sampling. The experimental group participated in the group process and family participation. The group process activities including a seven-hour orientation activity and a group meeting for 8 times taking an hour and a half in each were nineteen hours in total. The family participation activities including a four-hour and a half orientation activity for parents and six-hour and a half family participation were eleven hours in total while the control group didn’t participate in both group process and family participation. The instrument using in this study were a questionnaire about computer game addiction and group process and family participation program. Paired sample t-test and Independent sample t-test were used for data analysis. The experimental results revealed that after joining in the group process and family participation, the students in the experimental group had lower scores in behavior of game addiction at .05 significant level and the scores comparing to those in the control group was lower at .05 significant level.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมเสพเกมth_TH
dc.titleกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการลดพฤติกรรมเสพเกมของวัยรุ่นth_TH
dc.title.alternativeGroupProcess andFamily Participationfor Reducing Game Addictionof Adolescents.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Psychology and Counseling)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว-
Appears in Collections:286 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1407.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.