Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสรา, ชมชื่น-
dc.contributor.authorอัสมา, มือลี-
dc.date.accessioned2017-10-18T07:28:17Z-
dc.date.available2017-10-18T07:28:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11081-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2558th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์ทาง อภิปัญญาและปัญหาปลายเปิดที่มีต่อความสามารถในการใช้กลยุทธ์อภิปัญญาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโคกมือบา มิตรภาพที่ 223 อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 26 คน ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ 13 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถในการใช้กลยุทธ์อภิปัญญา แบบรายงานตนเอง และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ดำเนินการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทีแบบกลุ่มเดียว และค่าสถิติทีแบบสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์ทางอภิปัญญาและปัญหาปลายเปิดมีคะแนนความสามารถในการใช้กลยุทธ์ อภิปัญญาเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 60 (2) ระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับกลยุทธ์อภิปัญญาของนักเรียนอยู่ในระดับดี (3) ความสามารถในการใช้กลยุทธ์อภิปัญญาและระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับกลยุทธ์อภิปัญญาของนักเรียนมีความสัมพันธ์กันทางบวก (4) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (5) นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับพอใช้ This research aimed to study the effects of learning management based on metacognitive strategies and open-ended problem on metacognitive strategies ability and mathematics achievement. The sample of this research was 26 students in Grade 9, at Bankhokmueba Midtrapabtee 223 school, Tak Bai District, Narathiwat Province, during the second semester of the 2015 academic year. They were instructed for 13 hours. The research instruments consisted of the lesson plan, metacognitive strategies ability test, self–report and mathematics achievement test. The research was one group pretest-posttest design. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, one sample t-test and t-test for dependent sample. The result was shown as follow: (1) The mean score of metacognitive strategies ability of students after learning management based on metacognitive strategies and open-ended problem statistically were pass 60 percent. (2) The performance level of students' metacognitive strategies at a good level. (3) Metacognitive strategies ability and the performance of student metacognitive strategies are related to positive. (4) The student achievement was significantly higher on the posttest than pretest (p<0.05). (5) Students had a satisfactory level of achievement.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีth_TH
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectอภิปัญญาth_TH
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกลยุทธ์ทางอภิปัญญาและปัญหาปลายเปิดที่มีต่อความสามารถในการใช้กลยุทธ์อภิปัญญและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2th_TH
dc.title.alternativeEffects of Learning Management based on Metacognitive Strategies and Open-ended Problem on Metacognitive Strategies Ability and Mathematics Achievement of Grade 9 Students in Narathiwat Primary Educational Service Area Office 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Educational Administration)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา-
Appears in Collections:260 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1344.pdf21.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.