Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorThanate, Ratanawilai-
dc.date.accessioned2012-11-19T07:13:37Z-
dc.date.available2012-11-19T07:13:37Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.citationวารสารวิจัย มข., KKU Res. J. 2012; 17(4):505-514en_US
dc.identifier.issn0859-3957-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8445-
dc.identifier.urihttp://www.resjournal.kku.ac.th/abstract/17_4_505.pdf-
dc.description.abstractกระบวนการอบไม้ยางพารามีผลต่อทั้งทางด้านคุณภาพไม้และต้นทุนการผลิตจากระยะเวลาที่ใช้ในการอบ การศึกษากระบวนการอบไม้ยางพาราเพื่อลดระยะเวลาในการอบจึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้ โดยทำการทดลองในโรงงานกรณีศึกษาโดยอบไม้ยางพาราสำหรับทำเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ผ่านการอัดนํ้ายา มาแล้ว 3 ขนาด คือไม้หนา 1 นิ้ว (ขนาด 1 นิ้ว x 1 นิ้ว ´x 47.24 นิ้ว) 1.5 นิ้วและ 2 นิ้วตามลำดับ ทำการศึกษาและปรับปรุงตารางการอบไม้เพื่อควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์และการหมุนเวียนของอากาศภายในเตาอบเพื่อให้ไม้มีความชื้นลดลงเหลือร้อยละ 8 พบว่าสามารถลดระยะเวลาการอบไม้ได้สูงสุดถึงร้อยละ 23 หรือ 52 ชม. จากระยะเวลาการอบก่อนปรับปรุง 224 ชม. สำหรับไม้ขนาด 1 นิ้ว ในขณะที่ไม้ขนาด 1.5 นิ้วและ 2 นิ้วมีระยะเวลาการอบลดลงร้อยละ 21.8 และ 15.6 ตามลำดับ ในส่วนคุณภาพของไม้หลังการอบพบว่ามีไม้เสียเนื่องมาจากการอบสูงสุดร้อยละ 1.4 สำหรับไม้หนา 2 นิ้ว โดยยังคงตํ่ากว่าร้อยละ 2 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ทั่วไปในโรงงานอุตสาหกรรมen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectไม้ยางพาราen_US
dc.subjectเวลาการอบen_US
dc.subjectกระบวนการอบไม้en_US
dc.titleการลดเวลาการอบไม้ยางพาราen_US
dc.title.alternativeDrying Time Reduction of Rubberwooden_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:228 Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
J2012การลดเวลาการอบไม้ยางพารา.pdf759.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.