Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเริงชัย ตันสกุล-
dc.contributor.authorวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ-
dc.date.accessioned2011-06-07T07:01:20Z-
dc.date.available2011-06-07T07:01:20Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7324-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/230398-
dc.description.abstractThe EU and US use Free trade agreements as a tool to spread patents on life regime worldwide. ASEAN countries include Thailand are being forced to join the little known Budapest Treaty trough US-Thailand FTA and ASEAN FTA. The Budapest Treaty on the International Recognition of the Deposit of Microorganisms for the Purposes of Patent Procedure, allows deposits of microorganisms at an international depositary authority to be recognized for the purposes of patent procedure. The study found that the signing Budapest have more negative effect compare to little benefit the country may received. The Treaty does not allow the on going developed "genetic matterial certification" which is important for the prior informed consent and benefit sharing mechanism under Convention on Biological Diversity. The Treaty also does not define the word "microorganism". This will allow the expanding the patent protection to cover DNA, plasmid, cell line and others parts of life form. The study propose the government to postpone joining the treaty until there are enough effective regulations to protect community right and sovereign right over Thailnd's biodiversity. The more broad discussion among scientific-
dc.description.abstractThe EU and US use Free trade agreements as a tool to spread patents on life regime worldwide. ASEAN countries include Thailand are being forced to join the little known Budapest Treaty trough US-Thailand FTA and ASEAN FTA. The Budapest Treaty on the International Recognition of the Deposit of Microorganisms for the Purposes of Patent Procedure, allows deposits of microorganisms at an international depositary authority to be recognized for the purposes of patent procedure. The study found that the signing Budapest have more negative effect compare to little benefit the country may received. The Treaty does not allow the on going developed "genetic matterial certification" which is important for the prior informed consent and benefit sharing mechanism under Convention on Biological Diversity. The Treaty also does not define the word "microorganism". This will allow the expanding the patent protection to cover DNA, plasmid, cell line and others parts of life form. The study propose the government to postpone joining the treaty until there are enough effective regulations to protect community right and sovereign right over Thailnd's biodiversity. The more broad discussion among scientific-
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาัลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพ ไทยen_US
dc.subjectเขตการค้าเสรีen_US
dc.subjectไทย การค้ากับต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาen_US
dc.titleการเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาบูดาเปสต์ ภายใต้บริบทของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและการเจรจาเอฟทีเอไทย-สหรัฐและอียู-อาเซียนen_US
dc.title.alternativeรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาบูดาเปสต์ภายใต้บริบทของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและการเจรจาเอฟทีเอไทย-สหรัฐและอียู-อาเซียน : รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biology)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา-
dc.contributor.departmentมูลนิธิชีววิถี-
dc.description.abstract-thการเจรจาการเปิดเรีการค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศอุตส่าหกรรม เช่น สหรัฐอเมริกา และกับกลุ่มสหภาพยุโรป ผ่านความตกลงเอฟทีเอไทย-สหรัฐ และอียู-อาเชียนนั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาและอียูได้ผลักดันให้ประเทศไทยและอาเชียน ขยายการคุ้มครองสิทธิบัตรให้ครอบคลุมสิ่งมีชีวิต และเข้าเป็นภาคีในสนธิสัญญาบูดาเบสต์ ซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักกันมากนัก สนธิสัญญาฉบับนี้สร้างระบบการรับฝากจุลชีพเพื่อรองรับขั้นตอนการจดสิทธิบัตร โดยผู้ยื่นขอสิทธิบัตรสามารถฝากตัวอย่างจุลชีพ ณ สถาบันรับฝากระหว่างประเทศ (International Depositary Authorty -IDA) ที่ใดก็ได้เพียงแห่งเดียว ซึ่งจะเอื้ออำนวยต่อผู้ขอจดสิทธิบัตรจุลซีพซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่ในประเทศอุตสาหกรรม จากการศึกษาพบว่า การเข้าเป็นภาคีในสนธิสัญญาบูดาเปสต์ในขณะนี้ จะมีผลกระทบมากกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับ เช่น การที่ประเทศไทยไม่สามารถออกข้อกำหนดให้มีการแสดงที่มาของทรัพยากรชีวภาพ เพื่อเป็นกลไกในการแบ่งปันผลประโยชน์ตามหลักการของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนอาจมีผลต่อการขยายการคุ้มครองสิทธิบัตรไปสู่ดีเอ็นเอ พลาสมิด เซลล์ไลน์ และสารพันธุกรรมอื่นๆ เป็นต้น ผู้วิจัยเสนอให้รัฐบาลชะลอการเข้าเป็นภาคีในสนธิสัญญาบูดาเปสต์ออกไป จนกว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ในการคุ้มครองสิทธิซุมชนและอธิปไตยของรัฐเหนือทรัพยากรชีวภาพ ตลอดจนการมีมีเวทีแลกเปลี่ยนอย่างกว้างขวางของกลุ่มต่างๆ เช่น นักวิทยาศาสตร์ เกษตรกร ภาคประชาสังคม ในแง่มุมด้านจริยธรรม สิ่งแวดล้อม และผลทางกฎหมาย เป็นต้น-
Appears in Collections:330 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
324205.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons