กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19492
ชื่อเรื่อง: The Effect of Digital Information Quality on Tourist Experience
ชื่อเรื่องอื่นๆ: ผลของคุณภาพข้อมูลดิจิทัลที่มีต่อประสบการณ์นักท่องเที่ยว
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Kullada Phetvaroon
Crysantina Michelle
Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)
คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว
คำสำคัญ: Tourism Data processing Thailand;Tourism Computer network resources Thailand
วันที่เผยแพร่: 2019
สำนักพิมพ์: Prince of Songkla University
บทคัดย่อ: Internet makes everything easier, including search for information. For tourist,search for information is a critical part of the trip because information found on the internet could influence tourist experience. Information makes a tourist more aware about the situation and conditions at the destination place and therefore also influences the total experience. The purpose of this study is to propose a conceptual framework of digital information quality in tourist experience which divided into three parts, in pre-trip (before the trip), during trip (en-route the trip) and post trip (after the trip)The data collection used was purposive of nonprobability sampling. Questionnaire survey was conducted in international departure terminal of Suvarnabhumi International Airport. From500questionnaires distributed, 450 valid questionnaires were collected and analyzed by SPSS AMOS. The results of this study revealed that the causal model fits well with the standard indices (X2 = 833.4, df = 496, p = 0.05, GFI = 0.902, CFI = 0.939). It indicates that digital information quality has direct impact on tourist experience in the pre-trip stage, the stage where tourists are planning the trip and search for information, and during-trip stage, where tourists create a perception of a destination attributes. Digital information which tourists found pre-trip shaped their pre-trip image of a destination, which then influenced tourists' during-trip perception of a destination. Moreover, digital information quality has also demonstrated direct influence on during-trip destination perception. Finally, destination image and perception of destination together contributed to tourist post-trip satisfaction and behavioral intentions. This study contributes to the body of knowledge by identifying the important attributes of digital information quality which influence tourists' three stages of experience(pre, during, and post). It helps destination planners to create a better digital marketing strategy to attract more tourists. Keywords: digital information quality CKNOWLEDGEMENT, satisfaction,structural equation model
Abstract(Thai): อินเทอร์เน็ตทําให้การค้นหาข้อมูลง่ายขึ้น สําหรับนักท่องเที่ยวการค้นหาข้อมูล เป็นส่วนสําคัญของการเดินทางเนื่องจากข้อมูลที่พบบนอินเทอร์เน็ตส่งผลต่อประสบการณ์การท่องเที่ยว ข้อมูลทําให้นักท่องเที่ยวตระหนักถึงสถานการณ์และเงื่อนไขในแหล่งท่องเที่ยวและยัง ส่งผลต่อประสบการณ์โดยรวม การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอกรอบแนวคิดของคุณภาพข้อมูลดิจิทัลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประสบการณ์การท่องเที่ยวซึ่งแบ่งออกเป็นสามส่วนคือก่อนการเดินทาง ระหว่างการเดินทาง และหลังการเดินทางการรวบรวมข้อมูลเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบไม่น่าจะเป็นแบบสอบถามเก็บในอาคารผู้โดยสารขาออกระหว่างประเทศของสนามบินสุวรรณภูมิ โดยแจกแบบสอบถามทั้งหมด 500 ชุด โดยแบบสอบถามที่ใช้ได้มี 450 ชุด และวิเคราะห์ข้อมูลโดย SPSS AMOS ผลการศึกษาพบว่าแบบจําลองเชิงสาเหตุมีความสอดคล้องกับดัชนีมาตรฐาน(2 = 833.4, df = 496, p = 0.05, GFI = 0.902, CFI = 0.939) บ่งชี้ว่าคุณภาพของข้อมูลดิจิทัลมี ผลกระทบโดยตรงต่อประสบการณ์การท่องเที่ยวในช่วงก่อนการเดินทางซึ่งเป็นช่วงที่นักท่องเที่ยว วางแผนการเดินทางและค้นหาข้อมูลและในระหว่างการเดินทางซึ่งนักท่องเที่ยวสร้างการรับรู้ถึงข้อมูลของสถานที่ท่องเที่ยว ข้อมูลดิจิทัลที่นักท่องเที่ยวค้นหาก่อนการเดินทางทําให้เกิดภาพลักษณ์ในใจนักท่องเที่ยวซึ่งมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของนักท่องเที่ยวในระหว่างการท่องเที่ยว ยิ่งไปกว่านั้น คุณภาพของข้อมูลดิจิทัลยังมีอิทธิพลโดยตรงต่อการรับรู้ปลายทางระหว่างการเดินทาง สุดท้ายภาพ ปลายทางและการรับรู้ของปลายทางรวมกันมีส่วนทําให้ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวหลังการเดินทางและความตั้งใจจะกลับ เที่ยวอีกการศึกษาครั้งนี้ก่อให้เกิดองค์ความรู้โดยสามารถระบุคุณสมบัติที่สําคัญของคุณภาพข้อมูลดิจิทัลที่มีอิทธิพลต่อประสบการณ์ตลอดการเดินทางทั้งสามช่วง (ก่อนระหว่างและหลังการเดินทาง) นอกจากนี้ผู้วางนโยบายรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถใช้ผลการศึกษานี้เพื่อสร้างกลยุทธ์การตลาดดิจิทัลให้ดีขึ้นเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวมากขึ้น คําสําคัญ: คุณภาพข้อมูลดิจิทัล, ภาพลักษณ์, พฤติกรรมนักท่องเที่ยว, ความพึงพอใจโมเดลสมการโครงสร้าง
รายละเอียด: Master of (Hospitality and Tourism Management (International Program)), 2019
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19492
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:816 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
435304.pdf1.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons