กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19473
ชื่อเรื่อง: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมรายวิชารัฐและสังคม ในการพัฒนา (เสริมสร้าง) ทักษะสมองเพื่อความสำเร็จของนักศึกษา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The Classroom Action Research on "Activity - Based Learning Management from Activity in the Subject of State and Society for Promoting Executive Function Skill for Political Sciences Students"
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง "การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมรายวิชารัฐและสังคม ในการพัฒนา (เสริมสร้าง) ทักษะสมองเพื่อความสำเร็จของนักศึกษา"
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วารุณี ณ นคร
คณะรัฐศาสตร์
Faculty of Political Science
คำสำคัญ: นักศึกษา กิจกรรมของนักศึกษา;กิจกรรมของนักศึกษา
วันที่เผยแพร่: 2566
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
บทคัดย่อ: The Classroom Action Research on "Activity - Based Learning Management from Activity in the Subject of State and Society for Promoting Executive Function Skill for Political Sciences Students is to learn how to Executive Functions (EF), crucial ability in a century that is changing quickly and is highly disruption for the living and working worlds. The study's two goals were to examine undergraduate students' cognitive capacities as well as their brain talents for effectiveness in planning and arranging learning activities with the state and social learning activity package. Students' satisfaction with the provided activities. It employs the ideas of thinking skills for a successful life and teaching and learning in the twenty-first century as its two main conceptual frameworks for education. This research is participatory action research (PAR) and gather information through both quantitative and qualitative research. 146 students are drawn from the target group in the first semester academic year 2020 The study found that the target group had developed Executive Functions (EF) higher than before participating in the activity with statistical significance in both overall and individual skills in all 9 items. That participating in activities can enable oneself to develop Executive Functions (EF) in each dimension. Additionally, the conclusions are students can review their learning by employing a selection of exercises during the learning process increased review and reflection of your own knowledge and abilities which approaches or abilities are one's own creations. This enables the target group to apply the aforementioned learning strategies in the future to further build their own skills and encourage students to learning more about themselves. It was discovered that giving students the opportunity to build more self-learning abilities, such as responsibility, is one of the requirements for developing learners' EF skills through Zoom Meeting. This suggests that organizing a variety of learning activities and deliberately concentrating on the development of learners' skills might increase the efficacy of learning through online channels. By allowing students to actively participate in their education and by fostering a laid-back, adaptable learning atmosphere, instructors can encourage independent study outside of the classroom.
Abstract(Thai): การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง"การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม รายวิชารัฐและสังคม ในการ พัฒนา (เสริมสร้าง) ทักษะสมองเพื่อความสำเร็จของนักศึกษา" มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อค้นหาวิธีการ พัฒนาทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ หรือ Executive Functions (EF) ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีการปั่นป่วน (disruption) ส่าหรับโลกแห่งการใช้ชีวิต และการทำงาน ผู้วิจัย จึงกำหนดวัตถุประสงค์การศึกษา 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาทักษะสมองเพื่อความสำเร็จด้านการวางแผนและ จัดระบบโดยการทำกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิขารัฐและสังคมของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อชุดกิจกรรมดังกล่าว โดยใช้กรอบแนวคิดในการศึกษา 2 แนวคิดคือแนวคิดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 และแนวคิดทักษะการคิดเพื่อชีวิตที่สำเร็จ ใช้วิธีการ วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Participatory action research : PAR) และเก็บข้อมูลด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและการ วิจัยเชิงคุณภาพ จากกลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษาจำนวน 146 คน ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาทักษะลมองเพื่อความสำเร็จ หรือ EF สูงกว่าก่อนเข้า ร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติทั้งในภาพรวม และทักษะรายด้านทั้ง 9 ด้าน และจากการเก็บข้อมูล เชิงคุณภาพพบว่ากลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินตนเองได้ว่า การเข้าร่วมกิจกรรมสามารถทำให้ตนเองได้ พัฒนาทักษะสมองเพื่อความสำเร็จได้ในแต่ละมิติ นอกจากนี้ข้อค้นพบที่สำคัญ คือ กระบวนการเรียนโดยการ ใช้ขุดกิจกรรมทำให้นักศึกษาได้กลับมาตรวจสอบ ทบทวน และสะท้อนกลับการเรียนรู้และทักษะของตนเอง มากขึ้น ว่าตนเองได้พัฒนาทักษะใดด้วยกระบวนการ หรือวิธีใด ทำให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำวิธีการดังกล่าว ไปพัฒนาการเรียนรู้เพื่อต่อยอดในการพัฒนาทักษะของตนเองได้ในอนาคต และทำให้นักศึกษาได้รู้จักตนเอง มากขึ้น สำหรับเงื่อนไขที่ท่าให้พัฒนาทักษะ EF ของผู้เรียนผ่านช่องทางออนไลน์ พบว่า ทำให้นักศึกษาได้ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตนเองเพิ่มขึ้น ได้แก่ ความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น และการค้นคว้าหาความรู้ ด้วยตนเอง ซึ่งชี้ให้เห็นว่าการเรียนผ่านช่องทางออนไลน์ด้วยโปรแกรมZOOMนั้น สามารถสร้างประสิทธิผลใน การเรียนรู้ได้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเป็นระบบโดยเน้นการพัฒนาทักษะของผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนดําเนินการหลักในการเรียนรู้ และสร้างสภาพแวดล้อมที่ผ่อน คลาย และยึดหยุ่นต่อการเรียนรู้เพื่อให้ใกล้เคียงการเรียนรู้ด้วยตนเองไนสถานการณ์นอกห้องเรียน
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19473
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:196 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
455329.pdf294.83 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น