กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19326
ชื่อเรื่อง: | การประเมินการเข้ากันได้ของต้นตอทุเรียนพื้นบ้านภาคใต้กับกิ่งทุเรียนพันธุ์การค้า |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Evaluation of Compatibility between Indigenous Durian Rootstocks in Southern Thailand and Commercial Varieties |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | จรัสศรี นวลศรี สุรศักดิ์ พรหมสกุล Faculty of Natural Resources (Plant Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ |
คำสำคัญ: | การปลูกทุเรียน |
วันที่เผยแพร่: | 2023 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | The major obstacle in vegetative propagation by grafting in fruit crops is incompatibility between rootstock and scion. Graft incompatibility may occur sometimes and possibly reduced growth and yield of the scion, leading to economic losses. Two species of durian were studied in this research: Durio zibethinus and D. lowianus. The objective was to study the grafting success of Monthong and Chanee grafted on various indigenous durian rootstocks. The graft union formation after grafting was observed. The phenolic compounds and lignin content above, below and at the graft union were compared. Thecomparison of isozyme peroxidase patterns and shoot growth of Monthong and Chanee on each rootstock were scored. Monthong and Chanee monografts were included as controls. In addition, genetic diversity of each durian rootstocks and scions were analyzed by microsatellite markers. Results showed that at 2 8 days after grafting (DAG), the highest successful grafting was recorded in Chanee grafted on indigenous durian namely Tai Liam, I-som and Lookklom (100%) followed by Chanee grafted on Chanee and Nok rootstocks (96.67%). The graft union were seen as well formed within 28 DAG and notsignificantly differences were found among all grafted plants. At 12 months after grafting (MAG), Monthong and Chanee grafted on Nok and Khamin rootstocks showed good compatibility. The total phenolic compounds and lignin content were analyzed at above, below and graft union. Results revealed significantly higher total phenolic content at the graft union than those above and below graft union in all combinations, while lignin content at above the graft union was higher than other sites. The highest phenolic content was observed at 21 DAG and gradually decrease at 45 DAG. In contrast, lignin content was getting higher at 45 DAG. The peroxidase profiles were analyzed at 12 MAG and visualized by native polyacrylamide gel electrophoresis. Some differences of peroxidase profiles were detected. The identicalperoxidasebandingpatterns from rootstock, scionandatgraft union were observed in 9 grafted combinations: Monthong/Monthong Khamin/Chanee Khamin/Monthong TailLiam/Chanee Lookklom/Monthong, Chanee/Chanee, Chanee/Monthong, Nok/Monthong and Tonkeaw/Chanee. Growth of grafted plants was evaluated during 12 MAG. Results implied that the best combination was obtained when Monthong and Chanee were grafted on Nok rootstock. Genetic variation of 10 samples of durian used as rootstocks and scions was assessed by microsatellite markers with 8 primer pairs. It was found that all 8 primers gave polymorphicbands. Microsatellite amplification showed 1-4 bands (alleles) from each marker with a total of 28 alleles. The genetic distance was analyzed using UPGMA clustering system and 3 groups can be generated with similarity coefficient ranging from 0.56-0.93. It is clearly classified that Nok rootstock is the most genetically distant from other durians used in this study, however good compatibility was obtained between D. lowianus and D. zibethinus. |
Abstract(Thai): | อุปสรรคส าคญั ในการเสียบยอดทุเรียนระหว่างตน้ ตอและกิ่งพนัธุ์ดีคือการเขา้กนั ไม่ได้ ซึ่งจะมีผลท าให้ลดการเจริญเติบโตของส่วนยอด และส่งผลกระทบต่อผลผลิต ก่อให้เกิด ความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อชาวสวนทุเรียน งานวิจยัน้ีทา การศึกษาในทุเรียน 2 ชนิด ไดแ้ก่ Durio zibethinus และ D. lowianus โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาของรอยต่อ ปริ มาณ สารประกอบฟี โนลิก ปริมาณลิกนิน เปรียบเทียบรูปแบบไอโซไซม์เพอร์ออกซิเดสบริเวณส่วนบน และส่วนล่างรอยต่อ การเจริญเติบโตของกิ่งพนัธุ์หมอนทองและชะนีบนตน้ ตอทุเรียนสายพันธุ์ต่าง ๆ เพื่อเป็นตวัช้ีวดัการเขา้กนั ไดร้ะหว่างกิ่งพนัธุ์ดีและตน้ ตอ โดยมีกิ่งพนัธุ์หมอนทองเสียบยอดบน ตน้ ตอหมอนทอง และกิ่งพนั ธุ์ชะนีเสียบยอดบนตน้ ตอชะนีเป็นตวัเปรียบเทียบ นอกจากน้ียงัได้ ศึกษาความหลากหลายทางพนัธุกรรมของตน้ ตอทุเรียนและกิ่งพนัธุ์ดีโดยใชเ้ครื่องหมายไมโครแซท เทลไลท์ผลการศึกษาพบว่า เปอร์เซ็นต์ความส าเร็จในการเสียบยอดที่อายุ 28 วัน สูงที่สุดเมื่อใช้ต้น ตอทุเรียนพ้ืนบา้นพนัธุ์ท้ายเลี่ยม ไอ้ส้ม และลูกกลมที่เสียบยอดดว้ยกิ่งพนัธุ์ชะนี(100%) รองลงมา คือการใช้กิ่งพนัธุ์ดีชะนีเสียบยอดบนต้นตอชะนี และต้นตอนก (96.67%) หลังการเสียบยอดเป็ น เวลา 28 วัน พบว่าทุกต้นมีการพัฒนาของรอยต่อที่สมบูรณ์ไม่แตกต่างกัน ที่ระยะเวลา 12เดือน หลัง การเสียบยอด พบว่ากิ่งพนัธุ์ดีหมอนทอง และชะนีที่เสียบยอดบนต้นตอทุเรียนนกและตน้ ตอขมิ้น มีการเข้ากันได้ของรอยต่อดีที่สุด เมื่อวิเคราะห์ปริมาณสารฟี โนลิก และลิกนิน จากตวัอย่างเน้ือเยื่อ บริเวณส่วนบน ส่วนล่าง และบริเวณรอยต่อ พบว่า ปริมาณสารฟี โนลิกจะพบมากที่สุดบริเวณ เน้ือเยื่อรอยต่อ ส่วนปริมาณสารลิกนินจะพบมากที่สุดบริเวณเน้ือเยื่อส่วนบนรอยต่อให้ผลไปใน ทิศทางเดียวกนั ในทุกคู่เสียบยอด ปริมาณสารฟีโนลิกเพิ่มข้ึนสูงสุดที่21 วันหลังเสียบยอด หลังจาก น้นั ที่45วันหลังเสียบยอดจะค่อยๆลดลง ในทางตรงกันข้าม ปริมาณสารลิกนิน จะค่อย ๆ เพิ่มข้ึนที่ 45 วันหลังเสียบยอด การศึกษารูปแบบของแถบเอ็นไซม์เพอร์ออกซิเดส ด้วยการใช้อะคริลาไมด์ เจลอิเล็คโตรโฟริซีส ที่ระยะเวลา 12 เดือนหลังเสียบยอด พบว่า แถบเอนไซม์มีความแตกต่างกัน พบ แถบของเอนไซม์ที่เหมือนกันจากบริเวณต้นตอ บริเวณรอยต่อ และกิ่งพนัธุ์ดีในทุกต าแหน่งในคู่เสียบยอด 9 คู่ คือ หมอนทอง/หมอนทอง ขมิ้น/ชะนีขมิ้น/หมอนทอง ทา้ยเลี่ยม/ชะนีลูกกลม/ หมอนทอง ชะนี/ชะนี ชะนี/หมอนทอง นก/หมอนทอง และต้นเขียว/ชะนีมีแถบใกล้เคียงกันมาก ที่สุด ส าหรับการเจริญเติบโตของกิ่งพนัธุ์ดีบนต้นตอสายพันธุ์ต่างๆ ที่อายุ 12 เดือนหลังการเสียบ ยอด พบว่า กิ่งพนัธุ์ดีหมอนทองและชะนีเจริญเติบโตไดด้ีที่สุดเมื่อเสียบยอดบนตน้ ตอทุเรียนนก เมื่อศึกษาความแตกต่างทางพนั ธุกรรมของทุเรียนที่ใช้เป็นต้นตอและทุเรียนที่ใช้เป็นกิ่งพันธุ์ดี จ านวน 10 ตัวอย่าง โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลไมโครแซทเทลไลท์ กับไพรเมอร์จ านวน 8 คู่ไพร เมอร์ พบว่าท้งั 8 ไพรเมอร์ให้แถบแตกต่างกัน ไพรเมอร์แต่ละต าแหน่งให้แถบดีเอ็นเอ 1-4 แถบ (อัลลีล) รวมท้งัสิ้น 28 แถบ เมื่อวิเคราะห์ความใกล้ชิดทางพันธุกรรมด้วยวิธีUPGMA สามารถ แบ่งกลุ่มทุเรียนท้งั 10 ตวัอย่าง ไดเ้ป็น 3กลุ่ม โดยมีค่าดชั นีความใกลช้ิดทางพนัธุกรรม 0.56-0.93 ต้นตอทุเรียนนกมีความแตกต่างทางพันธุกรรมกับทุเรียนสายพันธุ์อื่นมากที่สุด แต่พบการเข้ากันได้ ดีระหว่างต้นตอทุเรียนชนิด D. lowianusและกิ่งพนัธุ์ดีชนิด D. zibethinus |
รายละเอียด: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2566 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19326 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 510 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6110620056.pdf | 4.15 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License