Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19307
Title: Reduction of mandibular incisors proclination during leveling and aligning phase in non-extraction orthodontic treatment
Other Titles: การลดยื่นของฟันตัดล่างในขั้นตอนการปรับระดับและเรียงฟันในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันโดยไม่ถอนฟัน
Authors: Chairat Charoemratrote
Pornpat Theerasopon
Faculty of Dentistry
คณะทันตแพทยศาสตร์
Keywords: Orthodontic appliances
Issue Date: 2019
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Tooth leveling in mandibular teeth with deep curve of Spee by nickel titanium archwires found intrusive forces at mandibular incisors. These forces which applied labial to center of resistance of teeth caused labial tipping of mandibular incisors occurred. Objectives To compare the results of intrusive forces from different shapes nickel titanium archwires cross- sections by finite element analysis and to determine whether separating the alignment and leveling phases can improve the outcome of the early stages of treatment and lead to less proclination of the mandibular incisors compares to conventional technique. Materials and Methods Construction of finite element model of mandible with all teeth, periodontal tissues and alveolar bone from cone beam computed tomography of selected patient, and construction of brackets, buccal tubes and orthodontic archwires. Finite element analysis was done by applying intrusive forces limited for 0.2 mm from 3 different shapes nickel titanium archwires of 0.016-inch, 0.016 x 0.016-inch and 0.016 x 0.022-inch archwires. Comparison of stress at root surfaces, periodontal tissues and tooth displacement. And comparison between separating of alignment by round nickel titanium archwires with accentuated curve of Spee and leveling by rectangular archwire in experimental group to the conventional alignment and leveling progressively to rectangular archwires in control group. This study was done in 30 skeletal Class I patients with 3-5 mm of anterior crowding and 3-4 mm of curve of Spee depth. Determined changes of mandibular incisor position and inclination with lateral cephalometric analysis and compared curve of Spee depth changes by mandibular teeth model analysis. Results After applied intrusive forces from nickel titanium archwires found the highest stress at the cervical areas in both labial and lingual surfaces but much higher stress and higher vertical level were found on labial surfaces in all models. Comparison among 3 models found the highest stress in round archwire model than square and rectangular archwire models. The highest labial displacement also found in round archwire model. The clinical study found no significant difference of antero-posterior mandibular incisor position (P>0.05). But control group found more proclination of mandibular incisors than experimental group (P<0.0001). Crowding was resolved in both group but curve of Spee reduction in experimental group was 2.88 mm which higher than control group of 1.69 mm (P<0.0001). Experimental group found longer treatment time than control group of 8.50 weeks (P<0.0001). Conclusion Intrusive forces from round archwire produced higher stress on the root surfaces and periodontal tissues at labial side, including more labial displacement. Tooth leveling with rectangular archwire in experimental group found less proclination of mandibular incisors.
Abstract(Thai): การปรับระดับฟันในฟันล่างที่มีโค้งของสปีลึกด้วยลวดนิกเกิลไทเทเนียม แรงกดลงทางปลายรากฟันกระทําต่อฟันตัดล่าง ซึ่งแรงดังกล่าวมีตําแหน่งของแรงอยู่หน้าต่อจุด ศูนย์กลางฟัน ส่งผลให้ฟันตัดล่างเคลื่อนที่แบบล้มเอียงไปทางด้านริมฝีปาก วัตถุประสงค์ เพื่อ เปรียบเทียบผลจากแรงกดในลวดนิกเกิลไทเทเนียมที่มีรูปร่างของหน้าตัดลวดแตกต่างกัน โดยการ วิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ และเพื่อศึกษาว่าการแยกขั้นตอนการเรียงฟันและปรับระดับฟัน จะ และฟันตัดล่างเอียงไปทางด้านริมช่วยให้ผลการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันในระยะแรกดีขึ้น ฝีปากลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่รักษาด้วยวิธีปกติหรือไม่ วัสดุและวิธีการ สร้างแบบจําลอง ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ของขากรรไกรล่างซึ่งประกอบด้วยฟันล่างทุกซี่ เนื้อเยื่อปริทันต์ และกระดูก เบ้าฟันโดยใช้ภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ชนิดโคนบีมของผู้ป่วย รวมทั้งสร้างแบร็กเก็ต ท่อด้านแก้ม และลวดทางทันตกรรมจัดฟัน วิเคราะห์ผลทางไฟไนต์เอลิเมนต์หลังให้แรงกดใน ระยะไม่เกิน 0.2 มิลลิเมตรจากลวดนิกเกิลไทเทเนียม 3 ขนาด ได้แก่ 0.016 นิ้ว, 0.016 x 0.016 นิ้ว และ 0.016 x 0.022 นิ้ว เปรียบเทียบความเครียดที่ตําแหน่งรากฟัน อวัยวะปริทันต์ และระยะการ เคลื่อนที่ของฟัน และศึกษาเปรียบเทียบการแยกขั้นตอนการเรียงฟันด้วยลวดกลมนิกเกิลไทเทเนียมที่มีโค้งของสปีและปรับระดับฟันด้วยลวดเหลี่ยมในกลุ่มทดลอง กับ การเรียงฟันและ ปรับระดับฟันด้วยวิธีปกติในกลุ่มควบคุมจนถึงลวดเหลี่ยม ในผู้ป่วยที่มีโครงสร้างกระดูก ขากรรไกรแบบที่ 1 จํานวน 30 รายที่มีฟันหน้าซ้อนเก 3-5 มิลลิเมตร และมีโค้งของสปี 3-4 มิลลิเมตร เปรียบเทียบตําแหน่ง และการเอียงตัวของฟันโดยการวิเคราะห์ภาพรังสีกะโหลกศีรษะ ด้านข้าง และเปรียบเทียบปริมาณโค้งของสปีที่เปลี่ยนแปลงด้วยการวิเคราะห์แบบจําลองฟันล่าง ผลการศึกษา ผลจากแรงกดในลวดนิกเกิลไทเทเนียมพบความเครียดสูงสุดในตําแหน่งคอฟันทั้ง ในด้านริมฝีปาก และด้านลิ้น โดยความเครียดของด้านริมฝีปากมีค่ามากกว่าด้านลิ้น และอยู่ใน ตําแหน่งที่สูงกว่าในทุกโมเดล เมื่อเปรียบเทียบทั้ง 3 โมเดล พบลวดกลมมีความเครียดสูงสุด ซึ่งมากกว่าลวดเหลี่ยม 0.016 x 0.016 นิ้ว และ 0.016 x 0.022 นิ้ว และพบการเคลื่อนที่ฟันไปทางด้าน ริมฝีปากมากที่สุดเกิดขึ้นในลวดกลมเช่นกัน การศึกษาทางคลินิกไม่พบความแตกต่างทางสถิติ ของตําแหน่งฟันไปแนวหน้า-หลัง (P>0.05) แต่พบกลุ่มควบคุมมีฟันตัดเอียงไปทางด้านริมฝีปาก เพิ่มขึ้นมากกว่าในกลุ่มทดลอง (P<0.0001) ปริมาณฟันซ้อนเกลดลงในทั้งสองกลุ่ม แต่ปริมาณโค้ง ของสปีในกลุ่มทดลองลดลง 2.88 มิลลิเมตร ส่วนในกลุ่มควบคุมลดลง 1.69 มิลลิเมตร (P<0.0001) ในกลุ่มทดลองใช้เวลาในการรักษามากกว่ากลุ่มควบคุม 8.50 สัปดาห์ (P<0.0001) สรุป: แรงกด รวมถึง ฟันตัดล่างในลวดกลมทําให้เกิดความเครียดที่รากฟันและอวัยวะปริทันต์ทางด้านริมฝีปาก ระยะเคลื่อนที่ไปทางด้านริมฝีปากมากกว่าในลวดเหลี่ยม และการปรับระดับฟันด้วยลวดเหลี่ยม ในกลุ่มทดลองพบมีการเอียงตัวของฟันตัดล่างลดลง
Description: Doctor of Philosophy (Oral Health Science), 2019
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19307
Appears in Collections:650 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435522.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons