Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรพีพร โสตถิพันธุ์-
dc.date.accessioned2024-01-05T07:56:32Z-
dc.date.available2024-01-05T07:56:32Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.urihttps://link.psu.th/x1WQx-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19277-
dc.description.abstractFungus contamination is a major problem encountered in the induction of callus from endosperms of immature spikelets of rice grown in natural environments. Sterilization requires stirring of immature spikelets in 2.6 % sodium hypochlorite in vacuo for 1 hour and 40 minutes, after washing in detergent and 70% ethanol. Using MS agar medium containing 3 % sucrose and 1 mg/l 2,4-dichloro- phenoxyacetic acid (2,4-D), friable calluses were induced from immature endosperms of upland rice cultivars, Dok Payom which is a fragrance rice, Khu Mueng Luong and Sew Mae Jun, as well as the recommended lowland cultivars, Hom Mali 105 (Jasmine rice) and Phatalung 60. These calluses could not proliferate in suspension culture with the widely used standard growth media viz. MS, LS, White's and No. By doubling the contents of vitamins and glycine in N, medium (N,2) as well as adding proline at 0.02 M in the presence of 4 % sucrose and 1 mg/l 2,4-D, callus formation could be induced directly in a suspension culture of immature endosperm from Dok Payom cultivar. The calluses in suspension culture were curved-plate in shape which grew sideways. Inclusion of 0.1 % Macerozyme in the culture medium helped prevent increase in size of the callusos but could not generate single-cell suspension. The endosperm suspension culture obtained from Dok Payom cultivar could increase by 60% in fresh weight after 15 days of subculture and could be used as a source of enzymes for the study of starch synthesis. Detection of the activity of starch synthase in the callus was done by measuring the rate of transfer of "Clglucose from ADP-[C]glucose to the primer starch molecules in the crude extract, which was found at 1.28 nmol/min per milligram of protein. Studies of other enzymes in the pathway will be carried out in the near future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชen_US
dc.subjectข้าว เมล็ดพันธุ์en_US
dc.subjectเอนไซม์en_US
dc.subjectแป้งข้าวเจ้าen_US
dc.subjectเซลล์และเนื้อเยื่อพืชen_US
dc.subjectเอนโดสเปอร์มen_US
dc.titleการเพาะเลี้ยงเซลล์เอนโดสเปอร์มจากข้าวไร่แบบแขวนลอยและการใช้ประโยชน์เพื่อศึกษาเอนไซม์ในวิถีการสังเคราะห์แป้งen_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยเรื่อง การเพาะเลี้ยงเซลล์เอนโดสเปอร์มจากข้าวไร่แบบแขวนลอยและการใช้ประโยชน์เพื่อศึกษาเอนไซม์ในวิถีการสังเคราะห์แป้งen_US
dc.title.alternativeSuspension culture of endosperm from upland rice and uses in studies of enzymes in starch synthesisen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biochemistry)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีวเคมี-
dc.description.abstract-thการปนเปื้อนของเชื้อราเป็นปัญหาหลักของการนําเมล็ดอ่อนของข้าวที่ปลูก ในสภาพธรรมชาติมาใช้ในการชักนําให้เกิดแคลลัสของเอนโดสเปอร์ม ในการฟอกฆ่าเชื้อ เมล็ดข้าว จะต้องดูดอากาศออกพร้อมกับการกวนในสารละลาย sodium hypochlorite 2.6 % นาน 1 ชั่วโมง 40 นาที เมื่อใช้อาหารวันสูตร MS ที่มีน้ําตาลซูโครส 3 % ผสม 2,4-dichlorophenoxy- acetic acid (2,4-D) 1 mg/ สามารถชักนําให้เกิดแคลลัสแบบร่วนจากเอนโดสเปอร์มของเมล็ด อ่อนจากข้าวไร่พันธุ์ดอกพะยอมซึ่งเป็นข้าวหอม พันธุ์กู้เมืองหลวง และชิวแม่จัน กับข้าว พันธุ์หอมมะลิ 105 และ พัทลุง 60 ซึ่งเป็นข้าวที่ได้รับการส่งเสริม แคลลัสเหล่านี้ไม่สามารถ เพิ่มปริมาณได้เมื่อนําไปเพาะเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยใช้อาหารเหลวสูตรมาตรฐานที่ใช้กัน แพร่หลาย ได้แก่ สูตร MS, LS, White's และ N การเพิ่มปริมาณวิตามินและไกลซีนเป็นสองเท่าในอาหารสูตร N (N2) และ เสริมด้วยโพรลีน 0.02 M น้ําตาลซูโครส 4 % และมี 2,4-D 1 mg/l สามารถชักนําให้เกิด แคลลัสแขวนลอยได้โดยตรงจากเอนโดสเปอร์มของเมล็ดอ่อนข้าวไร่พันธุ์ดอกพะยอม แคลลัสที่ได้มีลักษณะเป็นแผ่นโค้งมีการเจริญเติบโตทางด้านข้าง การผสม Maceroyuri) ที่ 0.1 % ในอาหารเพาะเลี้ยงช่วยป้องกันการเพิ่มขนาดของแคลลัส แต่ไม่ทําให้ได้เซลล์เดี่ยว การเพาะเลี้ยงแคลลัส แขวนลอยของเอนโดสเปอร์มข้าวไร่พันธุ์ดอกพะยอม สามารถเพิ่มปริมาณได้ถึง 60 % ของน้ําหนักสุด ภายใน 15 วันหลังย้ายเปลี่ยนอาหาร และ สามารถใช้เป็นแหล่งของเอนไซม์เพื่อศึกษาการสังเคราะห์แป้งของข้าวไร่ ความสามารถในการสังเคราะห์แป้งของแคลลัสแขวนลอย การทดสอบ โดยวัดการทํางานของเอนไซม์ starch synthase ซึ่งย้าย (Clglucose จาก ADP-1 Clglucose ไปต่อที่โมเลกุลของแป้งที่เป็น primer ได้ในอัตรา 1.28 นาโนโมล/นาทีต่อมิลลิกรัมโปรตีน การศึกษาเอนไซม์อื่นในวิถีนี้จะ ต้องรอดาเนินการต่อไปen_US
Appears in Collections:328 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.